Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของงานประพันธ์ประเภทร้อยกรอง, ด.ช. สุวิจักขณ์ อ่วมขยัน 521 40 -…
ประเภทของงานประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
กลอน: บังคับ สระ สัมผัส และ เสียงวรรณยุกต์
โคลง: บังคับ คำเอก-คำโท และ สัมผัส
โคลงดั้น
โคลงโบราณ
โคลงสุภาพ
ร่าย: บังคับ คณะ สัมผัส อาจมีคำเอก-คำโท และไม่กำหนดว่า ในแต่ละบทมีกี่วรรค แต่ต้องมีสัมผัสทุกวรรค
ร่ายโบราณ
ร่ายคำหลวง
ร่ายยาว
ลิลิต
ร่ายดั้น
ลิลิตสุภาพ
ร่ายสุภาพ
ลิลิตดั้น
ลักษณะบังคับของคําประพันธ์
พยางค์/คำ จะถูกกำหนดไว้ว่า ในแต่ละบท วรรรค จะมีกี่พยางค์
คณะ / บท คือ จํานวนคําที่กําหนดไว้ในคําประพันธ์ และจะต้องประกอบด้วย พยางค์ คํา วรรค บาท และบท
สัมผัส คือ คำที่คล้องจองกัน
3.2 สัมผัสใน หรือ สัมผัสภายในวรรค
3.3 สัมผัสสระ คือคำทีมีรูปสระเดียวกัน
3.1 สัมผัสนอก หรือ สัมผัสระหว่างวรรค
3.4 สัมผัสอักษร หรือ พยัญชนะ คือ มีตัวอักษรออกเสียงคล้ายหรือเหมือนกัน
คําขึ้นต้นหรือคํานํา
กลอนเสภา จะขึ้นต้นว่า ครานั้น
กลอนบทละคร
บัดนั้น ใช้กับตัวละครรอง
มาจะกล่าวบทไป นิยมใช้เมื่อขึ้นตอนใหม่
เมื่อนั้น ใช้กับตัวละครเอกหรือกษัตริย์
กลอนสักวา จะขึ้นต้นว่า สักวา
คําสร้อย คือ คําที่ใช้เติมท้ายเพื่อความไพเราะและคชัดเจน
คําเป็น-คําตาย คือ คําที่มีเสียงสั้นยาวต่างกัน
คําเอก-คําโท คือคําที่มีรูปวรรณยุกต์เอกและโท
คําครุ-คําลหุ คือ คําที่มีเสียงหนักเบาต่างกัน
ฉันท์: บังคับ ครุ-ลหุ คณะ และสัมผัส
มาลินีฉันท์
วิชชุมมาลาฉันท์
วสันตดิลกฉันท์
สัททุลวิกกีฬิตฉันท์
อินทรวิเชียรฉันท์
สัทธราฉันท์
กาพย์: บังคับ คล้ายฉันท์ แต่ไม่มี ครุ-ลหุ
กาพย์ฉบัง 16
กาพย์ห่อโคลง
กาพย์ยานี 11
กวีโบราณนิยมแต่งฉันท์ปนกับกาพย์ ซึ่งเรียกว่า “คําฉันท์”
กาพย์สุรางคนางค์ 28
ด.ช. สุวิจักขณ์ อ่วมขยัน 521 40