Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่1
โรคนิ่วในไต, สมาชิก
นางสาวสุนิสา มาลาม รหัสนักศึกษา…
กรณีศึกษาที่1
โรคนิ่วในไต
-
พยาธิสภาพของโรค
นิ่วในไตอาจเกิดขึ้นได้จากปริมาณของเกลือ แร่ธาตุ และสสารต่าง ๆ เช่น แคลเซียม กรดออกซาลิก และกรดยูริกในปัสสาวะที่เปลี่ยนแปลงไปโดยมีปริมาณมากเกินกว่าของเหลวในปัสสาวะจะละลายหรือทำให้เข้มข้นน้อยลงได้ จนเกิดการเกาะตัวเป็นก้อนนิ่วพยาธิสภาพของระบบทางเดินปัสสาวะที่ถูกอุดกั้นด้วยนิ่ว
1.การอุดกั้น (Obstruction)นิ่วที่อุดกั้นในทางเดินปัสสาวะในแต่ละตำแหน่งจะทำให้เกิดอาการต่างๆ ดังนี้
•นิ่วที่อุดกั้นที่ infundibulum ทำให้เกิดhydrocalycosis
•นิ่วที่อุดกั้นที่ureteropelvic junction (UPJ) ทำให้เกิด hydronephrosis
•นิ่วที่อุดกั้นที่ท่อไต ทำให้เกิด hydroureter และ hydronephrosis
•นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้เกิดอาการปัสสาวะสะดุด และhypertrophy ของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
•นิ่วในท่อปัสสาวะ ทำให้เกิด hypertrophy ของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ หรือ diverticulum ของท่อปัสสาวะ
2.การติดเชื้อ (Infection)เมื่อมีนิ่วอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะทำให้เกิดการติดเชื้อได้เนื่องจากมีการคั่งค้างของน้ำปัสสาวะตามส่วนต่างๆในทางเดินปัสสาวะและ ภาวะ hydronephrosis ทำให้เนื้อไตถูกเบียด ความหนาของเนื้อไตบางลงและพบ polymorphs และ round cells จำนวนมาก ลักษณะของ glomeruli จะมีการอักเสบทั่วไป การติดเชื้อเรื้อรังอาจทำให้เยื่อบุทางเดินปัสสาวะ (transitional cells) เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งได้
-
-
การดูแลรักษาที่ได้รับ
Order for one day
- 5% DN/2 1000 ml vein drip 120 ml/ hr.
- NPO
- เจาะhctทุก6 hr.
Order continues
- Record V/S, I/O
- Ceftriaxone 1 gm. vein ทุก 12 ชั่วโมง
- Paracetamol (500) 1 tab oral prn for pain ทุก 4-6 ชั่วโมง
-
-