Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปที่เรียน วันที่ 29 /11/64 - Coggle Diagram
สรุปที่เรียน วันที่ 29 /11/64
การวัดผล
กระบวนการในการกำหนดตัวเลขแทนปริมาณของสิ่งต่างๆที่ต้องการประกอบด้วยลักษณะที่สำคัญ 3 ประการ คือ
คุณลักษณะที่ต้องการวัด หมายถึง สิ่งที่เราต้องการศึกษา เช่น ความสูง น้ำหนัก ความสามารถในวิชาคณิตศาสตร์
เครื่องมือที่ใช่วัด มีมากมายหลายชนิด เช่น ไม้เมตร ตาชั่ง ทั้งนี้จะต้องเลือกเครื่องมือให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องการวัด
วิธีการที่ให้ผู้ถูกวัดแสดงพฤติกรรมออกมา
ผลที่ได้จากการวัด จะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ที่แทนสักษณะของสิ่งที่วัด
การทดสอบ หมายถึง การหาหรือกำหนดจำนวน ปริมาณ หรือ คุณลักษณะของพฤติกรรมหรือความสามารถของบุคคล โดยใช้ส้อยเป็นเครื่องมือ หรือเป็นสิ่งเร้า
1 บุคคลซึ่งถูกวัดคุณลักษณะหรือความสามารถ
2 ข้อสอบเพื่อทำหน้าที่เป็นสิ่งเร้า
3 การดำเนินการสอบ การจัดสภาพการสอน และผู้คุมสอบ
4 ผลการสอบ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคะเเนน ที่ได้มาจากการตรวจสอบ คะเเนนนี้แทนความสามารถสูงสุดของแต่ละบุคคล
การวัดทางการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
การวัดทางด้านกายภาพศาสตร์
การวัดโดยให้ค่าสิ่งที่เป็นรูปธรรม มีตัวตนแน่นอน ออกมาเป็นจำนวนปริมาณด้วยเครื่องวัดที่แน่นอน มีหน่วยวัดที่แน่นอน
ความสูง น้ำหนัก ความยาว ระยะทาง
มีเครื่องมือวัดแน่นอน เป็นมาตรฐาน
การวัดทางด้านสังคมศาสตร์
การวัดคุณค่าของสิ่งที่เป็นนามธรรม ไม่มีตัวตนที่แน่นอน เช่น การวัดพฤติกรรม คุณลักษณะ ความรู้สึก สติปัญญา ความสามารถ ความสนใจ
การวัดพฤติกรรม การแสดงออกในลักษณะต่าง
เครื่องมือวัดไม่แน่นอน แต่ต้องสร้างให้เหมาะสม น่าเชื่อถือ
มาตรฐานการวัด
การวัดเป็นการกำหนดตัวเลข สัญลักษณ์
ข้อมูลผลการวัด จะมีระดับการวัดแตกต่างกัน
ระดับการวัดแตกต่างกัน ต้องเลือกใช้การวิเคราะห์ที่เหมาะสม
มี 4 ระดับการวัด
1 นามบัญญัติ
2 จัดอันดับ
3 อันตรภาค
4 อัตราส่วน
ช่วงเวลาของการประเมินผลการเรียนการสอน
การประเมินผลก่อนเรียน
ตรวจสอบความรู้ ทักษะพื้นฐาน
กระตุ้นเร้าให้ตื่นตัว
วางแผนการสอน เนื้อหา วิธีสอน
เปรียบเทียบพัฒนาการก่อน-หลัง
การประเมินผลระหว่างเรียน
บรรลุประสงค์เนื้อหา
ปรับปรุงซ่อมบกพร่องของผู้เรียน
กระตุ้น เร้า จูงใจ สนใจ เอาใจใส่
ปรับปรุงการสอน
การประเมินผลหลังการเรียนหรือประเมินรวม
ทราบความสามารถของผู้เรียน
ความสำเร็จในการเรียน
ความสามารถโดยรวม
ตัดสินผลการเรียน
เลื่อนระดับ
ซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข
ประเภทของการประเมิน
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์
การประเมินที่เกิดจากการวัดของผู้เรียนแต่ละคนไปเทียบ กับเกณฑ์ หรือ มาตรฐาน ที่กำหนดขึ้นแล้วตัดสินใจว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้ความสามารถยังไง
การประเมินแบบอิงกลุ่ม
นำเอาผลการวัดของผู้เรีนทั้งกลุ่มมาเปรียบเทียบกันว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถอยู่ในระดับใดและตัดสินใจในระดับคะเเนน ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของกลุุ่ม