Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและการประเมินผล…
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและการประเมินผล รายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การปฎิรูปการศึกษาไทย พ.ศ.2542
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
มาตรฐาน สมศ.
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
ความหมายของ การทดสอบ การวัดผล การประเมินผล
การทดสอบ (Testing)
คือ การใช้เครื่องมือในการวัด เพื่อทดสอบความรู้ความสามารถของบุคคล
การวัดผล (Measurement)
คือ กระบวนการที่กระทำต่อจากการวัดผล แล้ววินิจฉัย ตัดสิน มีองค์ประกอบดังนี้
วัดความรู้นักเรียน
มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินให้เหมาะสม
นำผลการวัดความรู้ที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดแล้วตัดสิน
การประเมินผล (Evaluation)
คือ กระบวนการในการกำหนดตัวเลขแทนปริมาณของสิ่งของต่างๆที่ต้องการ ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ
คุณลักษณะที่ต้องการวัด
เครื่องมือที่ใช้วัด
ผลที่ได้จาการวัด
การประเมินคุณค่า (Assessment)
หมายถึง กระบวนการรวบรวมเรียบเรียงข้อมูลสารสนเทศจากผลการวัดด้วยเครื่องมือที่หลากหลายในสถานการณ์ต่างๆ โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำหรับใช้ตัดสินใจเกี่ยวกับผู้เรียน หลักสูตร โครงการ และนโยบายทางการศึกษา
การวัดผลทางการศึกษา
การวัดผลทางด้านกายภาพศาสตร์
ความสูง นำ้หนัก ความยาว ระยะทาง
มีเครื่องมือวัดแน่นอน เป็นมาตรฐาน
การวัดผลทางด้านสังคมศาสตร์
การวัดพฤติกรรม การแสดงออกในลักษณะต่างๆ
เครื่องมือวัดไม่แน่นอน แต่ต้องสร้างให้เหมาะสมน่าเชื่อถือ
มาตราการวัด (Measurement Scale)
มี 4 ระดับการวัด (4 Levels of Measurement)
นามบัญญัติ (Nominal scale)
จัดอันดับ (Ordinal scale)
อันตรภาคชั้น (Interval scale)
อัตราส่วน (Ratio scale)
ประเภทของการประเมินผล
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์
เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับเกณฑ์หรือจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้
การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม
เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น ๆ ที่ได้ทำแบบทดสอบเดียวกันหรือได้ทำงานอย่างเดียวกัน นั่นคือเป็นการใช้เพื่อจำแนกหรือจัดลำดับบุคคลในกลุ่ม
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา
เพื่อจัดตำแหน่ง (Placement)
เป็นการวัดผลเพื่อดูว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถอยู่ตรงระดับไหนของกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบแต่ละคนกับกลุ่มว่าเขาสอบได้ที่เท่าไร
เพื่อวินิจฉัย (Diagnosis)
เป็นการวัดผลเพื่อค้นดูว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความเก่ง-อ่อนในวิชาใด หรือเด่น-ด้อยในทางใด เพื่อแก้ไขและส่งเสริมให้ดีขึ้น การประเมินผลลักษณะนี้มีประโยชน์ต่อผู้เรียนและผู้สอนอย่างมาก เพราะจะใช้ในการปรับปรุงผู้เรียนและแก้ไขข้อบกพร่องของผู้สอน
เพื่อเปรียบเทียบ (Assessment)
เป็นการวัดเพื่อบอกระดับการพัฒนาของผู้เรียนในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งว่าผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละห้องมีความสามารถเพิ่มขึ้นหรือพัฒนาขึ้นมาจากเดิมมากน้อยเพียงใด
เพื่อประเมินค่า (Evaluation)
เป็นการวัดผลเพื่อนำมาใช้ในการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามีความเก่งหรืออ่อนเพียงใดบรรลุเป้าหมายที่ต้องการมากน้อยแค่ไหน เพื่อหาวิธีการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนต่อไป และเพื่อมองผลระยะยาวของผู้เรียนในเรื่องของคะแนนเพื่อนำมาตัดสินผลการเรียนหรือเกรดของผู้เรียนว่าผ่านเกณฑ์ของทางสถานศึกษาหรือไม่ และนำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงวิธีการสอนของผู้สอนเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน
เพื่อพยากรณ์ (Prediction)
เป็นการวัดผลเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต เช่นการแนะแนวทางในการเรียน หรือควรจะทำงานในด้านใดจึงจะประสบความสำเร็จ
ธรรมชาติของการวัดผลการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม (Indirect)
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่สมบูรณ์ (Incomplete)
การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน (Error)
ผลการวัดแสดงรูปในความสัมพันธ์ (Relation)
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์ (Absolute zero)
ผู้จัดทำ
นางสาวสุธาศินี ดวดกระโทก
รหัสนักศึกษา 6311070001 sec 05
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์
รายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้