Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564, แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่…
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564
การประเมินสภาพแวดล้อมการพัฒนาประเทศ
สถานการณ์และแนวโน้มภายนอก
การวิจัย พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การแย่งชิงแรงงานที่มีทักษะด้านเทคโนโลยี
เกิดสาขาอุตสาหกรรมและบริการที่ผสมผสานเทคโนโลยี
สถานการณ์และแนวโน้มสังคมโลก
การเลื่อนไหลของวัฒนธรรม
อาจก่อให้เกิดการแย่งชิงประชากรวัยแรงงาน
สถานการณ์และแนวโน้มสิ่งแวดล้อมโลก
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลต่อการเกษตร
ข้อตกลงระหว่างประเทศจะกำหนดทิศทางการพัฒนาไทย
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลก
ตลาดการเงินแบบไร้พรมแดน
กลุ่มเศรษฐกิจแบบเสรี
นวัตกรรมทางการเงินที่ก้าวหน้า
สถานการณ์ความมั่นคงโลก
สถานการ์และแนวโน้มภายใน
สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย
โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
คนไทยมีแนวโน้มเกิดโรคไม่ติดต่อมากขึ้น
สถานการณ์ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
การบริหารจัดการน้ำยังขาดกระบวนการ
ปัญหามลพิษส่งผลต่อคุณภาพชีวิต
การเจริญเติบโตของภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
เกิดช่องว่างทางรายได้ระหว่างภาค
กลไกการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังไม่เชื่อมโยงกัน
ความมั่นคงภายในประเทศ
สถาบันหลักได้รับผลกระทบจากความขัดแย้ง
ปัญหาความเห็นต่างทางความคิด
ความร่วมมือระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงเพื่อการพัฒนา
ไทยกับนานาประเทศมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น
ไทยขยายความร่วมมือด้านต่าง ๆ กับกลุ่มประเทศ
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
งานวิจัยยังขาดการบูรณาการ
ทิศทางการพัฒนาไม่ชัดเจน
การพัฒนาล่าช้าไม่ทันโลก
การบริหารจัดการภาครัฐยังอ่อนแอ
ภาครัฐมีขนาดใหญ่และรายจ่ายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพต่ำ
การทุจริตขยายกว้างขวาง
กฏหมายบางฉบับยังไม่ได้มาตรฐาน
สถานการ์และแนวโน้มเศรษฐกิจไทย
ปี 2504-2558 เศรษฐกิจขยายตัวร้อยละ 6.1
ปี 2553 โครงสร้างเศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นภาคอุตสาหกรรม
ปี 2560 เศรษฐกิจขยายตัวต่ำกว่าศักยภาพเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ
ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนให้มีคคุณธรรม จริยธรรม
ยกระดับคุณภาพทางการศึกษาและการเรียนรู้
สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป๋นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
มุ่งลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนและแก้ไขปัญหาควาามยากจน
เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ
เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจรากฐานให้มีความเข้มแข็ง
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและปข่งขันได้อย่างยั่งยืน
การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวม ทั้งในด้านการคลังและการเงิน
การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ
ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เน้นการรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ
แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการเพื่อลดความดสี่ยงด้านภัยพิบัติ
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง
รักษาาความมั่นคงภายในเพื่อให้เกิดความสงบในสังคม
การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพป้องกันประเทศ
ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความมั่นคง
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
ปรับปรุงโครงสร้าหน่วยงาน
ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณเพื่อให้มีการจัดสรรมีประสิทธิภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับให้ได้มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบโลจิสติกส์
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง
สนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่ง
พัฒนาระบบโลจิสติกส์ให้ได้มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และวัตกรรม
เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาผลักดันเชิงพาณิชย์
พัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี
พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
วิจัย
นวัตกรรม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
การพัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาการเมือง
สภาพแวดล้อม
ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ ให้มีประสิทธภาพ สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อพัฒนา
ยึดหลักคิดเสรี เปิดเสรี และเปิดโอกาส
พัฒนาและขยายความร่วมมือ
เศรษฐกิจ
สังคม
ความมั่นคง
การพัฒนาการเชื่อมโยง การคมนาคมขนส่ง
เปิดประตูการค้าพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
ภาพรวมการพัฒนา
หลักการ
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพิ่มผลิตภาพ
ยุทธศาสตร์
มุ่งให้ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปลี่ยนจากยุทธศาสตร์20ปี เป็นบรรลุภายใน5ปี
การขับเคลื่อนแผน
ภาครัฐ
เอกชน
ประชาชน
ภาคการศึกษา
จุดเปลี่ยนสำคัญ
เป็นแผนแรกที่ใช้กลไกลขับเคลื่อนการพัฒนา
แนวทางการพัฒนา
จังหวัด
ภาค
เมือง
กำหนดเป้าหมาย สาขาการผลิตและการบริการไว้ชัดเจน
สนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
เร่งเสร็จภานใน5ปี
ประเด็นหลักในการพัฒนา
สาเหตุของการพัฒนา
การปรับตัวช้าในการแข่งขัน
การลงทุนมีน้อย
คุณภาพพื้นฐานไม่ดี
การจัดการภาครัฐแและกฎระเบียบล้าสมัย
มีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปรงโครงสร้างประชากรสู่สังคมสูงวัยมากขึ้น
เกิดปัญหาความยากจนกระจุกตัวหนาแน่น
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
การแปรงแผนการพัฒนา
พัฒนานวัตกรรมและการนำมาใช้ในการขับเคลื่อน
ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เตรียมพร้อมด้านกำลังคนและเสริมสร้างศักย๓าพของประชากร
สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ
ปรับโครงสร้างการผลิตและสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
ปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคล้องกับพันธกรณี
เพิ่มศักยภาพฐานการผลิตและการบริการเดิม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจกระแสใหม่
สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว
สร้างความเชื่อมโยงระหว่างการผลิต
พัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อย เล็ก กลาง วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพื่อสังคม
สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคง
การบริการจัดการในภาครัฐ
พัฒนาโครงสร้างระบบโลจิสติกส์
พัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ
ปรับปรุงการเงินไทยในต่างประเทศ
ปฏิรูปการคลังและงบประมาณ
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12
หลักการ
กระจายการพัฒนา
ใช้จังหวัดเป็นจุดเชื่อมต่อ
เพิ่มองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม
การเชื่อมโยงในระดับต่างๆ
1.ยุทธศาสตร์
2.แผนปฏิบัติการ
3.งบประมาณ
สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคม
แนวทางขับเคลื่อน
ผลักดันให้ภาคเอกชนลงทุนธุรกิจ
สร้างความรู้ความเข้าใจทุกภาคส่วน
เพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน
จังหวัดเป็นตัวประสานงาน
สร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง
แผนพัฒนาฉบับที่12
นโยบายรัฐบาล
แผนเฉพาะด้าน
ยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ
การติดตามประเมินผลแผนพัฒนา
แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผล
การมีส่วนร่วม
ส่วนได้
ส่วนเสีย
ประเมินด้วยตนเอง
สร้างระบบการเรียนรู้
ติดตามผลใกล้ชิด
แนวทางการประเมิน
ระหว่างดำเนินงาน
ส่งเสริมความร่วมมือ พัฒนาตัวชี้วัด
หลังดำเนินการ
นำเสนอผลการติดตาม พัฒนาระบบข้อมูล
ก่อนเริ่ม
วางแผนจัดตั้งหน่วยงาน
วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนา
วัตถุประสงค์
รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประะสิทธิภาพ
เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง
ผลักดันไทยเชื่อมกับประเทศต่างๆ
มั่นคงทางเศรษฐกิจ
คนด้อยโอกาสได้รับการพัฒนา
วางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์
จริยธรรม
ค่านิยมที่ดี
คุณธรรม
เป้าหมาย
คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้และความจนลดลง
มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย
ภาครัฐบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบเศรษฐกิจเข้มแข็งและแข่งขันได้
คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น
40%
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 12กับภาคอีสาน
การแก้ไขปัญหาความยากจน และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยจัดหาที่ดินทำกินให้คนจนฝึกอาชีพสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตสำหรับคนจน
การพัฒนาด้านการเกษตร โดยการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ เกษตรแปลงใหญ่
การขยายเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสู่ชุมชนโดยติดตั้งบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สาย งบประมาณ 13,760 ล้านบาท ครอบคลุม 20 จังหวัด
การบริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาทิ รถไฟความเร็วสูงไทยจีน
ส่วนที่ 2
ส่วนที่3
ส่วนที่ 4
ส่วนที่ 5
ส่วนที่ 1