Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 นวัตกรรมการศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 2
นวัตกรรมการศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง แนวคิด วิธีการ เครื่องมือหรือสื่อ กระบวนการ ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาใหม่หรือพัฒนา ปรับปรุง เพิ่มเติมจากสิ่งเดิม ช่วยให้การเรียนรู้เปลี่ยนแปลงไปทางที่ดี
นวัตกรรมการศึกษามีความสำคัญต่อการเรียนการสอน คือ ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้นจากวัตถุที่เป็นรูปธรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอย่ากรู้อยากเห็นในเรื่องที่เรียน
หลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรม
เป็นแนวคิดที่ยังไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน
เป็นแนวคิดหรือสิ่งที่อยู่ระหว่างการวิจัยว่าช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
เป็นแนวคิดเดิม ที่ถูกพัฒนา ปรับปรุง เพิ่มเติม
ให้มีประสิทธิภาพขึ้น
เป็นแนวคิดเดิม แล้วนำมาใช้กับสภาพการณ์ใหม่
เป็นแนวคิดใหม่ ที่ไม่เคยใช้มาก่อน
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
แบ่งตามประเภทของผู้ใช้
สำหรับครู
เอกสารประกอบการสอน
เครื่องมือวัดผล
สำหรับผู้เรียน
ใบงาน
หนังสือเสริมประสบการณ์
เพื่อการบริหาร
ระบบสารสนเทศ
การจัดค่ายคณิตศาสตร์
แบ่งตามขอบเขตการจัดการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมด้านหลักสูตร
นวัตกรรมสื่อการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหาร
แบ่งตามลักษณะของนวัตกรรม
ประเภทเทคนิดและวิธีการ
เป็นสื่อวิธีการและกิจกรรมและวิธีสอนต่างๆ
ประเภทวัสดุอุปกรณ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อมัลติมีเดีย
บทเรียนสำเร็จรูป
นวัตกรรมประเภทวัสดุอุปกรณ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อหลายมิติ
เป็นเทคนิคที่ต้องใช้สื่อประสมต่างๆ ที่คอมพิวเตอร์สามารถนำเสนอได้
บทเรียนการ์ตูนและบทเรียนนิทาน
การ์ตูนและบทเรียนการ์ตูน
นิทานและบทเรียน
บทเรียนสำเร็จรูป
ผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม
สื่ออุปกรณ์เทบเล็ท
การพัฒนาเนื้อหาสาระที่ใช้ในการเรียน
ครูที่มีความชำนาญในการใช้งาน
การจัดหาอุปกรณ์
สื่อประสม
ประเภท 1 เป็นการนำสื่อหลายประเภทมาใช่ร่วม
ในการสอน
ประเภท 2 เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เสนอเนื้อหาสาระ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จำลองแบบ
การไต่ถาม
ฝึกทักษะและปฏิบัติ
แบบรวมวิธีต่างๆเข้าด้วย
บทเรียน
หน่วยความรู้เฉพาะเรื่อง
เป็นการสร้างสื่อเพื่อการเรียนรู้ ที่มีการออกแบบแบ่งเนื้อหาออกเป็นเรื่องสั้นๆ
ระบบการเรียน e-Learning
การเรียนการสอนออนไลน์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ
การเรียนการสอนผ่านเว็บ
การเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
การเรียนรู้ผ่านเกม
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียนเอง
ความเป็นจริงเสมือน
จอภาพสวมศีรษะ
ถุงมือรับรู้
นวัตกรรมประเภทเทคนิคและวิธีการ
การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน
เป็นการจัดการเรียนรู้
แบบศูนย์การเรียน
การเรียนรู้แบบต่อบทเรียน
การจัดกลุ่ม
การศึกษาเนื้อหาสาระ
การคิดคะแนน
การทดสอบ
ระบบการให้รางวัล
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ปัญหาเป็นเครื่องกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะศึกษา ค้นหาความรู้
การเรียนรู้แบบอุปนัย
ขั้นเปรียบเทียบ
ขั้นกฏเกณฑ์
ขั้นเสนอตัวอย่าง
ขั้นนำไปใช้
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
อย่างไม่เป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
อย่างเป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
อย่างถาวร
การเรียนรู้แบบโครงงาน
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามหัวข้อที่ตนสนใจอย่างลุ่มลึก
การสอนแบบบริษัทจำลอง
ให้ผู้เรียนได้ร่วมกันทำกิจกรรมในรูปของบริษัท
เพื่อให้บริการ การขายในรูปแบบต่างๆ
การเรียนรู้
แบบ Story line
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จะมีการผูกเรื่องแต่ละตอนให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การสอน
แบบหน่วย
ผู้เรียนจะได้เรียนรู้หลายวิชาพร้อมกันด้วยการค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การใช้แบบทดสอบ
วินิจฉัย
ใช้หาข้อบกพร่องของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การเลือกใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับช่วงชั้น/อายุของผู้เรียน
สื่อตรงกับความต้องการ
ให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรม
ตามวัตถุประสงค์ของการสอน
สื่อมีเนื้อหาถูกต้อง
ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหา
และได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง
สื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผล
และช่วยเพิ่มพูลประสบการณ์
ระดับความยากง่ายของเนื้อหาในสื่อ
ต้องเหมาะสมกับระดับความสามารถ
ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน
คุ้มค่ากับราคา เวลา เงิน
และการจัดเตรียมสื่อ
ใช้การได้ดี
ควรทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการเรียนรู้
การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน
สื่อค้นนวัตกรรม
และสื่อต่างๆ
เลือกนวัตกรรม
ให้เหมาะสมกับเพศ
วัย ช่วงชั้นที่จะสอน
วางแผนการสอน
และจัดทำแผนการสอน
กำหนดนวัตกรรมที่จะใช้ในแต่ละคาบนั้นๆ
ออกแบบสื่อนวัตกรรม
กำหนดสื่อมาใช้อย่างเหมาะสม
สร้างสื่อนวัตกรรม
ทดสอบประสิทธิภาพของสื่อนวัตกรรมที่ผลิตขึ้น
นำนวัตกรรมที่ปรับแก้แล้วไปทดลองกับผู้เรียนอีกครั้งหนึ่ง
นำนวัตกรรมที่ปรับแก้แล้วไปทดลองกับกลุ่มเล็กๆ
การหาคุณภาพของนวัตกรรมเบื้องต้น
การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม