Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นายสมพันธ์ ประทุม อายุ 53 Dx: Pneumothorax U/D: HT - Coggle Diagram
นายสมพันธ์ ประทุม อายุ 53
Dx: Pneumothorax
U/D: HT
cc:อุบัติเหตุ MC+กะบะ กระแทกอกด้านขวา ไม่หมดสติ เจ็บแน่นหน้าอกเวลาเคลื่อนไหวร่างกายและหายใจ
ความหมาย:Pneumothorax หรือภาวะปอดรั่ว คือภาวะที่มีอากาศเข้าไปแทรกอยู่ภายในช่องปอดจนเบียดเนื้อปอด เป็นเหตุให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่และทำงานได้ไม่ดี ส่งผลต่อการหายใจของผู้ป่วย เป็นภาวะที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์อย่างเร่งด่วน เพราะหากปล่อยไว้จะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
ผู้ป่วยเป็นชนิด Traumatic pneumothorax
หมายถึง ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดซึ่งเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
พยาธิสภาพ:โดยปกติ pleural pressure จะเป็นลบ ในขณะที่ alveolar pressure จะสูงกว่า pleural pressure เสมอ เมื่อมีการแตกของ ELCs ลมจะไหลผ่านเข้า pleural space จนกว่าจะไม่มีความแตกต่างของ alveolar pressure และ pleural pressure หรือรอยรั่วนั้นปิดลงแล้ว เนื่องจากทรวงอกถูกหุ้มด้วยกระดูกซึ่งมีการขยายตัวได้จ ากัด ท าให้ pressure ที่เป็นบวกในภาวะpneumothorax มีการกดเนื้อปอด ทำให้เนื้ออปอดขยายตัวได้จำกัดผลที่เกิดขึ้นนจากการเกิด pneumothorax เกิดขึ้น
สาเหตุของภาวะปอดรั่ว
บาดเจ็บบริเวณหน้าอกเนื่องจากอุบัติเหตุ ได้รับการกระทบกระเทือนอย่างแรงบริเวณหน้าอก
อาการของภาวะปอดรั่ว
แน่นหน้าอก, หายใจถี่หรือหายใจหอบเหนื่อย, เหงื่อออกมากผิดปกติ, อ่อนเพลียง่าย,วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม
การวินิจฉัยภาวะปอดรั่ว
-ประเมินจากอาการที่เกิดขึ้นเพียงอย่างเดียว ดังนั้น หากผู้ป่วยพบอาการผิดปกติ เช่น เจ็บหน้าอกอย่างเฉียบพลัน หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ ค
-การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือการทำอัลตราซาวด์ เป็นการตรวจเพื่อแยกโรคที่ไม่ใช่สาเหตุ รวมทั้งตรวจดูความผิดปกติของเนื้อปอดและอวัยวะข้างเคียง
การรักษาภาวะปอดรั่ว
การสอดท่อหรือเข็มเข้าไปในช่องปอด(ICD) หากมีอากาศแทรกเข้าไปในปอดเป็นบริเวณกว้าง แพทย์จะใช้วิธีสอดท่อหรือเข็มเข้าไปในช่องปอดเพื่อระบายอากาศส่วนเกิน โดยจะพิจารณาเลือกวิธีการระบายอากาศตามความรุนแรงและสถานการณ์ของผู้ป่วย วิธีนี้เป็นการรักษาที่ปลอดภัยและไม่จำเป็นต้องผ่าตัด แต่ผู้ป่วยอาจต้องสอดท่อทิ้งไว้ในร่างกายติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่งเพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Acute pain r/t fracture clavicle at RT
SD : ผู้ป่วยบอกว่า ประสบอุบัติเหตุ รถชน กระแทกอกด้านขวา ปวดขณะขยับและหายใจ OD : -ภาพ x-ray= RT. Shoulder AP,Transcapular)มีภาวะข้อเลื่อนหลุด(14/11/64) -on clavicle splint (14/11/64)-ขณะเคลื่อนไหว ขยับร่างกายผู้ป่วยมีสีหน้าแสดงถึงความปวด คิ้วขมวด สีหน้าไม่สดชื่น
2.ประเมินก่อนให้ยาบรรเทาความปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
3.ประเมินหลังให้ยาแก้ปวด
1.15-30 นาทีหลังได้รับยาแก้ปวดชนิดยาฉีด IV.
1.ประเมินความปวดโดยใช้ pain scale ทุก 4 ชั่วโมง ตามเวลาวัดสัญญาณชีพ
4.ให้การดูแลด้านจิตใจให้การพยาบาลอย่างเบามือ ใช้เทคนิคการเบี่ยงเบนความสนใจ
5.ดูแลจัดท่านอนให้ผู้ป่วยสุขสบาย ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ จัดวางสิ่งของใช้ที่จำเป็นให้ใกล้กับผู้ป่วย
Uncomfortable r/t RT clavicle fracture with on chest tube insertion at RT
SD : ผู้ป่วยบอกว่า ปวดเวลาขยับและหายใจที่บริเวณไหล่ขวาและบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอกOD : -มี clos fracture RT clavicle-CFx rib 3,4,5- ใส่ clavicle splint (14/11/64)-on ICD 2 ขวด (14/11/64)-pain score 7-8 คะแนน (14/11/64)
2.สังเกตุลักษณะแผลบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก อาการแผลมีลักษณะ บวม แดง ร้อน แผลที่มีหนอง หรือสารคัดหลั่งมีสีผิดปกติและมีกลิ่นเหม็น
1.ประเมินอาการปวดบริเวณไหล่ขวาและบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอกด้วย pain score
ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย ช่วยเหลือผู้ป่วยขณะเคลื่อนไหวร่างกาย ดูแลไม่ให้สายท่อระบายหัก พับ งอ โดยจัดตรึงสายไว้กับผ้าปูที่นอนโดยเหลือให้มากพอที่ผู้ป่วยจะสามารถพลิกตะแคงตัวหรือนั่งบนเตียงได้
4.จัดสภาพแวดล้อม พร้อมจัดวางของใช้ให้สะดวกต่อการใช้ของผู้ป่วย เช่น วางถาดบนโต๊ะคร่อมเตียง ตั้งแก้วน้ำไว้ใกล้มือด้านที่ผู้ป่วยสามารถหยิบเองได้สะดวก
Risk for infection r/t on chest tube insertion
SD : ผู้ป่วยบอกว่า ปวดบริเวณที่ใส่สายระบายทรวงอกขณะที่มีการไอหรือเคลื่อนไหวร่างกาย หายใจลำบากเล็กน้อย และเหนื่อยOD: -On RT ICD ต่อระบบ 2 ขวด (15/11/64-มีการลักน้ำในระบบ)ท่อระบายทรวงอก (18/11/64)-On O2 canula 5 LPM. (17/11/64-ผู้ป่วยใช้อุปกรณ์บริหารปอด Triflow)
2.ตรวจผู้ป่วยและแก้ไขกรณีหาสาเหตุไม่ได้หรือยังไม่สามารถทำได้ในขณะนั้น จะมีวิธีการดูแลชั่วคราว
3.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อบริเวณแผลใส่ท่อระบายทรวงอก ได้แก่ อาการแผลมีลักษณะ บวม แดง ร้อน แผลที่มีหนอง หรือสารคัดหลั่งมีสีผิดปกติและมีกลิ่นเหม็น
1.ประเมินการลักน้ำของระบบท่อระบายทรวงอก จาก content ของผู้ป่วย
4.ดูแลทำความแผลโดยใช้เทคนิคสะอาด ปราศจาดเชื้อ (Aseptic Technique) ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
Impaired Gas exchange r/t decreased functional lung tissue
SD : ผู้ป่วยบอกว่า ประสบอุบัติเหตุ เจ็บแน่นหน้าอกเวลาขยับและหายใจ OD : -ผลX-ray มีภาวะ Pneumothorax-fracture rib RT3,4,5-อัตราการหายใจ 22 ครั้ง/นาที (14/11/64)-วัดระดับ-On RT ICD ต่อระบบ 2 ขวด (15/11/64)-On O2 canula 5 LPM. (15/11/64)
3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่าบ่อยๆ ทุก 2 ชั่วโมง โดยจัดท่าให้นอนในท่าที่สบายหรือจัดให้นอนท่าศีรษะสูง 45-60 องศา
2.ดูแลไม่ให้สายท่อระบายระบายหัก พับ งอ โดยจัดตรึงสายไว้กับผ้าปูที่นอนโดยเหลือให้มากพอที่ผู้ป่วยจะสามารถพลิกตะแคงตัวหรือนั่งบนเตียงได้ จัดขวดรองรับสิ่งระบาย ให้อยู่ต่ำกว่าทรวงอกประมาณ 1-3 ฟุต
1.ประเมินสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดงของภาวะอัดดันในช่องเยื่อหุ้มปอด ได้แก่ การหายใจลำบาก เจ็บแน่นหน้าอก กระสับกระส่าย ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
4.ตรวจดูการทำงานของระบบระบาย
5.ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวขณะใส่ท่อระบาย และกระตุ้นให้ผู้ป่วยยริหารการหายใจ