Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบติดเชื้อของเต้านม - Coggle Diagram
การอักเสบติดเชื้อของเต้านม
Mastitis
สาเหตุ
เต้านมคัดตึงไม่ได้รับการแก้ไข
เกิดการติดเชื้อ
ท่อน้ำนมอุดตัน
อาการ
เต้านมตึง เจ็บปวด บวมแดง ร้อน
ไม่สุขสบาย มีไข้
Breast abscess
สาเหตุ
เกิดจากเต้านมอักเสบที่ไม่ได้รับการรักษา
หัวนมแตก
อาการ
ติดเชื้อลามเข้าไปในเต้านม
เต้านมตึง
เจ็บปวด
มีไข้
อาการและอาการแสดง
คัดตึงเต้านมอย่างรุนแรง
ปวดเต้านมมาก
ไม่ได้รับการแก้ไข
มีอาการหนาวสั่น
มีไข้สูงอย่างรวดเร็ว อาจสูงถึง 38.3-40.0 C
ชีพจรเร็ว
มีการคั่งของน้ำนม
น้ำนมไหลออกน้อย
บริเวณเต้านมแดงร้อน แข็งตึง ขยายใหญ่ กดเจ็บ
ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดศีรษะ
มีอาการลุกลามเกิดการอักเสบ
มีหนองออกจากเต้านม
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
กรณีเป็นหนอง
ต้องเปิดแผลกว้าง เพื่อระบายให้หนองไหลออกสะดวก (incision and drainage)
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่เต้านม
ล้างมือทุกครั้งที่จะสัมผัสเต้านม
ทำความสะอาดเต้านมและหัวนม เช็ดคราบที่ติดหัวนมออกให้หมดด้วยน้ำสะอาด หลีกเลี่ยงการใช้สบู่หรือสารอื่นที่ทำให้หัวนมแห้ง
สวมเสื้อพยุงเต้านมไว้ให้พอดี
ขณะดูดนมให้ปากทารกอยู่บนลานนมให้มากที่สุด ถ้าจะให้ทารกปล่อยหัวนมให้กดปลายคางทารกให้อ้าปากก่อน แล้วค่อยดึงหัวนมออก
เปลี่ยนท่าในการให้นมบ่อยๆ
ถ้ามีอาการคัดตึงเต้านมบ่อยขึ้น บีบน้ำนมออก ให้ลานนมอ่อนนุ่มและนวดเต้านมเบาๆก่อนให้ทารกดูด
ถ้าเต้านมแตกต้องรีบรักษา และอาจใช้ nipple shield ครอบขณะให้ทารกดูดนมมารดา
การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือขณะมีการอักเสบติดเชื้อ
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ รักษาความสะอาด ใช้ความร้อนเป่า
กรณีเต้านมอักเสบให้ทารกดูดนมต่อไปได้
ถ้าเต้านมเป็นฝีอาจงดทารกดูดน้ำนมข้างนั้นและบีบน้ำนมออก และกลับมาดูดข้างที่เป็นฝีเมื่อแพทย์อนุญาต
ให้ยาปฏิชีวนะและบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา
สวมเสื้อชั้นในหรือพันผ้าเพื่อพยุงเต้านม ต้องระวังไม่ให้พันผ้าแน่นหรือสวมเสื้อชั้นในคับเกินไป
ในรายที่แพทย์เปิดแผลเพื่อระบายหนองออก ให้ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำเกลือ ล้างแผลวันละ 2 ครั้ง
รักษาทำความสะอาดร่างกาย
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus
เชื้อจะผ่านเข้าไปทางหัวนมที่แตกหรือแยกหรือเข้าทางบาดแผลของเต้านม
แหล่งที่มาของเชื้อ
จากมือของมารดาหลังคลอด
มือของบุคคลากรผู้ให้การรักษาพยาบาล
จากทารกโดยเฉพาะเชื้อในปากและจมูกของทารก
มารดาหลังคลอดอาจบีบเต้านมแรงทำให้มีการชอกช้ำ หรือมีหัวนมแตก
การติดเชื้อ
เกิดขึ้นเร็วในวันที่ 7 หลังคลอด
มักไม่เกิดก่อนปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด
ส่วนใหญ่เกิดในสัปดาห์ที่ 3 หรือ 4
มักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง เกิดภายหลังเต้านมคัดตึงอย่างรุนแรง