Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม, นาย ภูกำฟ้า แก้วมหิทธิ์ 4/3 15 - Coggle…
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนรูปแบบของโครงสร้างทางสังคม พฤติกรรมทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
ลักษณะทั่วไปในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรม
1.การเปลี่ยนแปลงในส่วนต่าง ๆ ของสังคมนั้นเกิดขึ้นเร็วช้าไม่เท่ากัน
2.การเปลี่ยนแปลงฯ เป็นกระบวนการปรับตัวตามธรรมชาติที่ทำให้สังคมดำรงอยู่ได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน
3.การเปลี่ยนแปลงฯ มักทำให้สังคมทั้งระบบเปลี่ยนได้
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒธรรม
1.ขนาดของสังคมต่าง ๆ โดยเฉลี่ยใหญ่ขึ้น
ใหญ่ขึ้นเพราะมีระบบเศรษฐกิจที่ดี
-การขยายตัวของเมือง
2.ประชากรมากขึ้น
-มากเพราะอาจจะเห็นเศรษฐกิจที่มีเเนวโน้มดี เลยอพยพมาตั้งถิ่นฐานด้วย
-การค้นคว้าทางการแพทย์ ที่มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.มีสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย
ช่วยเรื่องความสะดวกสะบาย
ความทันสมัย
4.การจัดระเบียบทางสังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น
เพราะด้วยความหนาแน่นทางประชากร
ระบบที่ควรมีความปลอมภัย
ความเป็นระเบียบของประชากร
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้นมีสาเหตุมาจากภายในระบบของสังคมเอง
.2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้นมีสาเหตุมาจากภายนอกระบบของสังคมเอง
มีผลผลิตทางวัฒนธรรม
ข่าวสาร
ความรู้
บันเทิง
ผลเสียของการเปลี่ยนเปลงทางสังคม
มีความไม่เท่าเทียมภายในสังคมและระหว่างสังคมเพิ่มขึ้น
สังคมมนุษย์มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มากขึ้น
องค์ประกอบของความเป็นตะวันตกประกอบด้วย
การมีระบบเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมและระบบทุนนิยม
การเป็นสังคมเมือง
ความเป็นประชาธิปไตย
การดำเนินชีวิตและมีทัศนะเชิงโลกีย์วิสัย (Secularization)
ลักษณะของ “สังคมที่ทันสมัย” ในแง่มุมที่เป็นสังคมที่พัฒนาแล้ว
เป็นสังคมอุตสาหกรรม เพราะระบบอุตสาหกรรมเป็นเงื่อนไขสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ตามมา
ระบบตลาดเสรี
ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย
เปิดโอกาสให้มีการการเคลื่อนไหวทางสังคมหรือการเลื่อนชนชั้นได้โดยเสรี
พลเมืองในสังคมนั้นๆ รับรู้ข่าวสารและมีส่วนร่วมทางการเมือง มีความสำนึกว่าตนเองมีความสามารถ ไม่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของประเพณี พร้อมที่จะรับสิ่งใหม่ ใจกว้าง และมีความยืดหยุ่นทางความคิด
แบบแผนของระบบการเมือง บรรทัดฐานทางสังคม โครงสร้างทางชนชั้นและบุคลิกภาพของสมาชิกสังคม
นาย ภูกำฟ้า แก้วมหิทธิ์ 4/3 15