Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดและทฤษฏีทางจิตวิทยา
และมนุษยสัมพันธ์
จิตวิทยาเกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
แรงจูงใจ
ความหมายและความสำคัญ
ลักษณะ
ภายใน
ภายนอก
ทฤษฏีจูงใจ
เน้นเนื้อหา
การสื่อสาร
ความหมายและความสำคัญ
องค์ประกอบ
S M C R
รูปแบบ/ทฤษฏี
SMCR ของเบอร์โล
สื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง
สื่อสารของชแรมม์
ทัศนคติ
องค์ประกอบ
ความรู้
ความรู้สึก
พฤติกรรม
ทฤษฏี
การวางเงื่อนไข
สิ่งล่อใจ
ความสอดคล้องในการรับรู้
ความขัดแย้งทางความคิด
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติโดยการปรับตัว
การมีส่วนร่วม
จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้ และการเรียนรู้
การรับรู้
ความหมาย
กระบวนการรับรู้
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
องค์ประกอบ
การเรียนรู้
ความหมาย
ลักษณะสำคัญ
ทฤษฏีการเรียนรู้ที่สำคัญ
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
กลุ่มปัญญานิยม
กลุ่มปัญญาสังคม
กลุ่มมนุษยนิยม
กลุ่มสร้างสรรค์ทางปัญญานิยม
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ภายใน
ภายนอก
องค์ประกอบ
แรงขับ
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
การเสริมแรง
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
จิตวิทยา
มนุษยสัมพันธ์
ทฤษฏีที่เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฏีแรงจูงใจ
พฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้ทางสังคม
พุทธินิยม
มนุษยนิยม
ความคาดหวัง
ความเป็นธรรม
ทฤษฏีความต้องการของมนุษย์
ทางกายภาพ
ความมั่นคงปลอดภัย
ทาสังคม
การได้รับการยกย่อง
ความสำเร็จในชีวิต
ทฤษฏีสองปัจจัย
ปัจจัยอนามัย
ปัจจัยจูงใจ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ใน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภายในองค์การ
เพื่อนร่วมงาน
ผู้บังคับบัญชา/ผู้ใต้บังคับบัญชา
ภายนอกองค์การ
บุคลากรหน่วยงานอื่น
เกษตรกร
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ขอบเขต
ภายในองค์การ
ภายนอกองค์การ
ความสำคัญ
เข้าใจตนเองและผู้อื่น
ได้รับความร่วมมือในการทำงาน
เกิดการพัฒนางาน
ประโยชน์
เข้ากับผู้อื่นได้ง่าย
เป็นปัจจัยสำเร็จในการทำงาน
เชื่อมโยงบุคลาการในการทำงาน
สังคมมีคุณภาพ
แนวทางและข้อควรพิจารณา
ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
แนวทาง
สนใจตัวบุคคลอื่น
ยิ้มแย้มแจ่มใส
จำชื่อบุคคลอื่น
ผู้ฟังที่ดี
พูดเรื่องผู้ฟังสนใจ
ยกย่องบุคคลอื่น
ถ่อมตน
เข้าใจคนอื่น
ยุติธรรม
ข้อควรพิจารณา
ระวังสีหน้า
การพูดเพ้อเจ้อนินทา
การโมโห
แสดงการไม่จริงใจ
โต้เถียงเพื่อเอาชนะ
จู้จี้จุกจิก
ตำหนีผู้อื่นต่อหน้าลับหลัง
การประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
การประยุกต์หลักจิตวิทยาไปใช้
เป้าหมายการใช้
ส่งเสริมบรรยากาศที่ดี
เป็นกำลังใจให้เกษตรกร
แสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
ให้การชมเชย
หลักการใช้
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
ให้ความสำคัญประสบการณ์เกษตรกร
คำนึงถึงความพร้อม
ตระหนักความมุ่งหมาย
เข้าใจหลักทำงานกับเกษตรกรรายกลุ่ม รายบุคคล และมวลชน
การประยุกต์หลักจิตวิทยาเกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติไปใช้
แรงจูงใจ
ข้อควรคำนึงในการสร้างแรงจูงใจ
วิธีสร้างแรงจูงใจ
การสื่อสาร
ขั้นความรู้
ขั้นชักชวน
ขั้นตัดสินใจ
ขั้นนำไปปฏิบัติ
ขั้นยืนยันการตัดสินใจ
ทัศนคติ
การเปลี่ยนทัศคติต่อตนเอง
สร้างและแลกเปลี่ยนทัศนคติที่ดี
การประยุกต์หลักจิตวิททยาเกี่ยวกับ
การรับรู้ และการเรียนรู้ไปใช้
การรับรู้
ส่งเสริมให้รวมกลุ่ม
สร้างความประทับใจ
ผลิตและใช้สื่อคำนึงสักษณะสิ่งเร้า
คำนึงถึงบุคคลเป้าหมาย
สนับสนุนการตัดสินใจ
การเรียนรู้
ความพร้อมการเรียนรู้
ความแตกต่างบุคคล/วิธีเรียนรู้
การมีส่วนร่วม
กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
จัดระบบเนื้อหาสาระสอดคล้องผู้เรียน
กระทำและรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสหลายทาง
การถ่ายโอนการเรียนรู้
การประยุกต์ทฤษฏีที่เกี่ยวกับ
มนุษยสัมพันธ์ไปใช้
การสร้างแรงจูงใจ
ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏีความคาดหวัง
ทฤษฏีความเป็นธรรม
การตอบสนองความต้องการเกษตรกร
ความต้องการสัมฤทธิผลของแมคเคลแลนด์
ความต้องการของมาสโลว์