Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 :<3: ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา - Coggle Diagram
บทที่ 12 :<3:
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ
คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆตัวเราเสมอ
ความคิดพื้นฐาน
บุคคลที่ต้องการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุของพฤติกรรม
คนอาจจะเรียนรู้หลายอย่างแต่ไม่กระทำ
บันดูราไม่เชื่อว่าพฤติกรรมจะคงตัวอยู่เสมอ
ขั้นของการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ
1.ขั้นได้รับมาซึ่งการเรียนรู้
2.ขั้นการกระทำ
กระบวนการที่สำคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกต
ความใส่ใจ
การจดจำ
การแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง
แรงจูงใจ
การเรียนรู้โดยการสังเกตและผู้มีหน้าที่อบรมเด็ก
ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องสังเกตจากตัวแบบจริงๆ
ผู้ใหญ่มีหน้าที่อบรมให้มีพฤติกรรมให้เป็นที่ยอมรับของคนในสังคม
การเรียนรู้โดยการสังเกตและการเรียนการสอน
ครูเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อนักเรียน
ครูควรทำรายการพัฒนาพฤติกรรม
เสริมสร้างสังคม
ปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกต
ผู้เรียนต้องมีความใส่ใจในการสังเกตตัวแบบ
ผู้เรียนต้องบันทึกสิ่งสังเกตไว้ในความจำระยะยาว
ผู้เรียนต้องแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ
ผู้เรียนต้องรู้จักประเมินพฤติกรรมของตนเอง
ความสำคัญของการควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง
ถ้าผลเป็นรางวัลจะเกิดความพอใจ
ถ้าผลเป็นการลงโทษจะเกิดความไม่พอใจ
ความสำคัญของแรงจูงใจในการเรียนรู้
โดยการสังเกต
แรงเสริมด้วยตนเองจะทำให้เกิด
การแสดงพฤติกรรมตามเกณฑ์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูราและการประยุกต์ใน
การเรียนการสอน
แบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่ม
1 มีตัวแบบโดยใช้หลักการสอนการเรียนรู้โดย
การสังเกตใช้เป็นกลุ่มควบคุม
อีก2กลุ่มมีตัวแบบไม่ใช้หลักการสอนการเรียนรู้โดย การสังเกต
ก่อนสอนให้กระตุ้นให้นักเรียนมีคววามใส่ใจ
อธิบายประกอบแนะวิธีช่วยจำ
หลักการทั่วไปของการสอนทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
บ่งชี้วัตถุประสงค์ของพฤติกรรม
แสดงตัวอย่างของการกระทำหลายๆตัวอย่าง
ให้คำอธิบายในตัวอย่าง
ขี้แนะขั้นตอนของการเรียนรู้
จัดเวลาให้มีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ
ให้แรงเสริม