Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย - Coggle Diagram
การป้องกันและการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย
แนวทางการป้องกันการ
บาดเจ็บทางการกีฬา
ใช้ความเย็นรักษาภายหลัง
การออกกําลังกายอย่างหนัก
ยืด/คลายกล้ามเนื้อ
ก่อน-หลังออกกําลังกาย
พันผ้ายืด
ใช้อุปกรณ์พยุงข้อต่อ
การนวดกระตุ้นและ
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
เลือกใช้อุปกรณ์กีฬา
ที่เหมาะสม
ประเภทของการบาดเจ็บ (แบ่งตามกลไกที่ทําให้เกิดการบาดเจ็บ)
กระทําโดยตรง (Direct contact)
มีแรงกระทําจากภายนอก
การบาดเจ็บจะเกิดขึ้นบริเวณที่ได้รับแรงปะทะ
กระทําโดยอ้อม (Indirect contact)
มีแรงกระทําจากภายในร่างกาย
มีปัจจัยเอื้อที่ทําให้บาดเจ็บ
ประเภทของการบาดเจ็บ (แบ่งตามชนิดของเนื้อเยื่อที่เกิดการบาดเจ็บ)
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่ออ่อน
การฉีกขาดของเอ็นยึดข้อต่อ (ligament sprain)
กล้ามเนื้อหรือผิวหนัง ฟกชํ้า (contusion)
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อ/เอ็นกล้ามเนื้อ (muscle strain, tendinitis)
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อแข็ง
กระดูกหัก (fracture)
ประเภทของการบาดเจ็บ (แบ่งตามระยะเวลาของการบาดเจ็บ)
การบาดเจ็บแบบฉับพลัน (Acute injury)
ลักษณะการบาดเจ็บค่อนข้างรุนแรง
มักมีสาเหตุมาจากการปะทะ บิดแบบทันทีทันใด
ภายใน 24-72 ชั่วโมงแรกภายหลังการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บแบบเรื้อรัง (Chronic injury)
มีอากาปวดคงค้างอยู่นานเกินกว่า 2 สัปดาห์
เกิดจากการใช้งานซ้ำ สะสมทีละน้อยในตําแหน่งเดิม โดยไม่ได้รับการดูแลรักษา
มักเกิดกับกล้ามเนื้อและข้อต่อ
ข้อควรระวัง ของการดูแลรักษาในช่วง 24 – 72 ชั่วโมง ภายหลังการบาดเจ็บ
HARM (ข้อห้าม)
A – ALCOHOL / ASPIRIN ไม่รับประทานยาแก้ปวดหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
R – RUNNING งดการออกกําลังกาย
H – HEAT ไม่ใช้ความร้อนในการรักษา
M– MASSAGE ไม่นวด เพราะทําให้เลือดไหลเวียนมาบริเวณที่บาดเจ็บมากขึ้น ทําให้อักเสบมากขึ้น
ผลของการรักษาด้วยความเย็น
ลดปวด
ลดบวม โดยการประคบเย็นร่วมกับให้แรงกดด้วยผ้ายืด (Elastic bandage)
ลดอาการอักเสบ
ลดการไหลเวียน -> ทําให้หลอดเลือดในบริเวณที่บาดเจ็บหดตัว
การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บเบื้องต้น
RICE ใช้ในกรณีบาดเจ็บแบบฉับพลัน
I = Ice นํ้าแข็ง/ความเย็น
C = Compression การกด
R = Rest การพัก
E = Elevation การยก