Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 :<3: ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม - Coggle Diagram
บทที่ 11 :<3:
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
พุทธิปัญญา
การรู้-คิดทุกชนิด
วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา
จิตวิทยาพุทธิปัญญานิยม
ภาษาศาสตร์
วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
จิตวิทยา-ชีววิทยา
ประสาทวิทยา-จิตวิทยา
มนุษยวิทยา
ลีลาเชิงพุทธิปัญญญา
ความคงเส้นคงวาของแต่ละบุคคล
อิทธิพลที่มีต่อการฟื้นฟู
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
จากนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์
กฎ closure ของเกสตัลท์
การเรียนรู้ด้วยการหยั่งรู้
จากนักทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา
ภาษาศาสตร์
จากประสาทวิทยา
จาก Barlett
จากพัฒนากการคอมพิวเตอร์
จากทฤษฎีสื่อสาร
จากนักจิตวิทยาพุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
Cognitive Constructivism
Social Constructivism
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยบรูนเนอร์
การเรียนรู้จะ เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
แนวคิดพื้นฐาน
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
ผุ้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาจะเห็นชัดเมื่อ
ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้าที่เลือกได้
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซุเบล
ผู้สอนอธิบายสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ ให้ทราบและผู้เรียนรับฟังด้วยความเข้าใจ
การสอนต้องคำนึงถึงวัยด้วย
ประเภท
Subordinate Learning
Superordinate Learning
Combinatorial Learning
ทฤษฎี Information Processing
เป็นการเปลี่ยนความรู้ของผู้เรียนทั้งปริมาณ และวิธีการประมวลสารสนเทศ
ความคิดพื้นฐานของนักจิตวิทยาพุทธิปัญญา
นิยมและทฤษฎี Information Processing
ผู้เรียนสามารถควบคุมอัตราความเร็ว
ของการเรียนรู้และขั้นตอนได้
เป็นการเปลี่ยนความรู้ของผู้เรียนทั้งปริมาณและคุณภาพ
ความรู้เกี่ยวกับความรู้คิด
เป็นผู้ที่ควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ มี10 วิธี
จุดเริ่มต้นของการศึกษา
เริ่มเมื่อบุคคลเกิดสัมมาทิฎฐิ
ปัจจัยทีี่ทำให้เกิดสัมมาทิฏฐิ
ปรโตโฆสะ
โยนิโสมนสิการ