Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต, นางสาวอัฐชฎารัตน์ ศรีอาวุธ เลขที่130…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติด้านพฤติกรรมและบุคลิกภาพ
Borderline
สาเหตุ
Physical & Sexual abuse
Over involvement
พฤติกรรม
All Good All Bad
ขาดการยับยั้งชั่งใจ ทำร้ายตนเอง
อยู่ระหว่างneurosis(โรคประสาท)กับpsychosis(โรคจิต)อารมณ์และพฤติกรรมแปรปวนกลัวการถูกทอดทิ้ง มักเรียก
การวินิจฉัย - มีลักษณะ
ต่อไปนี้ 5 ข้อขึ้นไป
อารมณ์ไม่คงที่
sense of self ไม่คงที่อย่างมาก
พยายามอย่างรุนแรงที่จะหลีกเลี่ยงการถูกทอดทิ้ง
มีความสัมพันธ์แบบรุนแรงและไม่มั่นคง
ควบคุมตนเองไม่ได้อย่างน้อย 2 ด้านขึ้นไป
ขู่ แสร้ง พยายามฆ่าตัวตายเรื่อยๆ ทำร้ายตนเอง
รู้สึกว่าตนเองว่างเปล่าตลอดเวลา
มีปัญหาในการคุมอารมณ์โกรธหวาดระแวง
Dependence
สาเหตุ
การสูญเสียในวัยเด็ก
Separation anxiety
พฤติกรรม
ไม่กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง
พึ่งพา ตามผู้อื่น ขาดความเชื่อมั่น
มีความต้องการอย่างมากที่จะให้มีผู้ดูแลตนเอง ยึดติด กลัว
การถูกแยก
การวินิจฉัย - 4 ข้อขึ้นไป
รีบเร่งในการผูกสัมพันธ์กับผู้อื่นต้องการการเอาใจใส่ สนับสนุนจากผู้อื่นอย่างมาก จนเต็มใจทำในสิ่งที่ไม่มีความสุขลำบากในการริเริ่มหรือทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง (ไม่มั่นใจในความสามารถของตนเอง)ลำบากในการตัดสินใจสิ่งต่างๆในแต่ละวันต้องการให้ผู้อื่นมารับผิดชอบเรื่องต่างๆ ในชีวิตลำบากใจในการแสดงความไม่เห็นด้วยอึดอัด หมดหนทางเมื่ออยู่คนเดียว กลัวมากกับการที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้
หมกมุ่นเกินเหตุกับความกลัวที่จะถูกทอดทิ้ง
การพยาบาล
Antisocial-Borderline
การประเมินภาวะสุขภาพ
ใช้ความไวในการสังเกตความผิดปกติซักประวัติ เช่น การเก็บกด ความเพ้อฝัน Ego การใช้สารเสพติด พฤติกรรม
การวินิจฉัยทางการ
พยาบาล
พฤติกรรมมุ่งเฉพาะการแก้ตัว
และป้องกันตนเอง
สร้างสัมพันธภาพ
ปฐมนิเทศการอยู่ร่วมกันจัดสิ่งแวดล้อม เน้นการคำนึงถึงสิทธิความเป็นบุคคล
ทักษะการติดต่อทางสังคมเสีย
ด้านผู้ป่วย เน้นทักษะการติดต่อสัมพันธ์ให้ตระหนักถึงผลดีผลเสียของพฤติกรรมยึดติด พึ่งพาจัดโปรแกรมการฝึกทักษะทางสังคมด้านครอบครัว เน้นการฝึกทักษะในการจำกัดพฤติกรรมให้ผู้ป่วยตระหนักในความรับผิดชอบ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อความรุนแรง
แสดงการยอมรับ/เฝ้าระวัง
จำกัดข้าวของเครื่องใช้เตรียมบุคลากรให้พร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉินดูแลให้ได้รับยา เพื่อลดความหงุดหงิด กังวล
Dependence
การวินิจฉัย
ภาวะวิตกกังวลรุนแรง
ดูแลให้ยาเพื่อสงบอาการ
ทำให้ผู้ป่วยสงบอยู่เป็นเพื่อน
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีสิ่งรบกวนน้อยที่สุด
การแก้ปัญหาขาดประสิทธิภาพ
ให้คำปรึกษาโดยตระหนักถึงบุคลิกภาพที่เป็นคนกังวล กลัวง่าย
ดูแลผลข้างเคียงจากยาฝึกวิธีผ่อนคลายความกังวลดูแลให้ได้รับยาคลายกังวล/ยานอนหลับ
การปฏิบัติตัวในหน้าที่
การงานเสียหาย
จัดตารางกิจกรรมที่ชัดเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ
เน้นการประเมินอารมณ์โกรธ พฤติกรรมรุนแรง
Antisocial
สาเหตุ
High risk in ADHD & Conduct disorder
Child neglect & abuse
พฤติกรรม
มีประวัติโกหก ดื้อรั้น ขโมย ชกต่อย ยาเสพติดทำผิดกฎหมาย
ขาดการสำนึกผิดมักพบในผู้มีอิทธิพล
การวินิจฉัย
มีหลักฐานว่าเป็น Conduct disorder ก่อนอายุ15ปีอายุอย่างน้อย 18 ปีขึ้นไป
พฤติกรรมนี้ไม่ได้เป็นช่วงอาการของschizophenia หรือ
Manic episodeละเมิดสิทธิผู้อื่น เริ่มตั้งแต่อายุ15 มีลักษณะเหล่านี้สามข้อขึ้นไป
1.ไม่ทำตามบรรทัดฐานสังคม มีพฤตกกรมที่ทำให้โดนจับ
2.หลอกลวง โกหก3.ควบคุมตนเองไม่ได้
4.หงุดหงิด ก้าวร้าว5.บ้าระห่ำ
6.ไม่มีความรับผิดชอบ7.ไม่มีความเสียใจ
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด
การเสพติด หมายถึง การใช้สารเสพติดหรือยาติดต่อกันโดยไม่สามารถหยุดได้ จนตกเป็นทาสของสารนั้น ๆ นอกจากเสพติดแล้วยังต้องเพิ่มปริมาณสารเสพติดขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเกิดอาการดื้อยา เมื่อหยุดใช้จะเกิดอาการขาดสารเสพติด
ลักษณะสำคัญของสารเสพติด
เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้วต้องการใช้สารนั้นในปริมาณมากขึ้น
เกิดอาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
สุขภาพร่างกายทรดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเองครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
ลักษณะของการติดสารเสพติด
เกิดความทนต่อสารนั้นๆ
ตกเป็นทาสทั้งทางร่างกายและจิตใจ
เกิดความสุขต้องการเสพซ้ำ
เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
ประเภทของสารเสพติด (WHO ใช้ ICD 10)
สุราหรือเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ (Alcohol) ได้แก่สุรา เบียร์ ไวน์
ฝิ่นและอนุพันธ์ของฝิ่น(Opium) ได้แก่ ฝิ่นดิบมอร์ฟิน เฮโรอีน เพทดีน
กลุ่มกัญชา (Canabinoids) กระท่อม
ยาระงับประสาทและยานอนหลับ (Sedative andhypnotics)
โคเคน (Cocain)
กลุ่มกระตุ้นประสาท (Stimulants)กลุ่ม
สารหลอนประสาท(Hallucinogens)สารระเหย (Solvents)
ยาหรือวัสดออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอื่น ๆ(Multiple drugs and otherspsychoactivesubstances)
บุหรี่หรือยาสูบ
การแบ่งตามความควบคุมทางกฎหมาย
สารเสพติดที่ถูกกฎหมายแต่มีการจำกัดอายผู้เสพ ได้แก่ บุหรี่ สุรา
สารเสพติดที่ผิดกฎหมาย ได้แก่ ฝน เฮโรอีนแอมเฟตามีนและยาไอซ์ เป็นอนุพันธ์ของเฮโรอีนที่ตัวยาเป็นชนิดหัวเชื้อบริสุทธิ์มีความรุนแรงมากกว่าเฮโรอีน
สาเหตุที่ทำให้ติด
ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological Factor)
พันธุกรรม
การเจ็บป่วยที่มีภาวะรุนแรงหรือเรื้อรัง
อิทธิพลของสารสื่อประสาท
ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological Factor)
ความขัดแย้งของจิตใจ
บคลิกภาพเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด
เช่น พึ่งพาสูง เก็บกด ปรับตัวยาก
ปัจจัยด้านสังคม (Social Factor)
กลุ่มเพื่อน
ครอบครัว
ประเภทของยาเสพติด
วิธีการใช้ยา
ดม/สูบ
กิน
ฉีด
นัตถ์
ยากดประสาท - การออกฤทธิ์ให้สมองสั่งงานช้าลง
เเอลกอฮอล์ สารระเหย ยานอนหลับ กัญชา สารสกัดจากฝิ่น
ยากระต้นประสาท - ออกฤทธิ์ให้สมองตื่นตัว
ยาบ้า กระท่อม ยาอี ยาไอซ์ บุหรี่ โคเคน
ยาเสพติดประเกทหลอนประสาท-จะเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมอง ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการเห็นภาพหลอน หูแว่ว การได้กลิ่นและ การรับสัมผัสผิดปกติ
กระดาษเมา (แอล เอส ดี )
ดอกลำโพงเ
ห็ดขี้ควาย
ยาเค
การรักษา
ระยะที่ 1 (acute phase) เป็นช่วงเวลาของการถอนพิษยา (detoxification) ซึ่งเป็นภาวะวิกฤต ใช้เวลา 1-3"เน้นความปลอดภัยของผู้ป่วย"
ระยะที่ 2 (rehabilitation phase) เป็นช่วงเวลาของการฟื้นฟูสุขภาพทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ
ระยะที่ 3 (after care or continuing care) มีเป้าหมาย เพื่อป้องกันการกลับไปใช้สารเสพติดอีกจึงเป็นการช่วยเหลือผู้ปวยรายบุคคลในระยะยาว
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด
ร่วมกับผู้ป่วยกำหนดกฎระเบียบและตารางปฏิบัติกิจกรรม
4.ตอบสนองความต้องการด้านร่างกายของผู้ป่วยอย่างเหมาะสม
ป้องกันอุบัติเหตุ โดยเฉพาะกาวะไม่รู้สึกตัว
เข้าถึงผู้ป่วย(Empathic approach)
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปราศจากสิ่งกระตุ้นให้อยากเสพ
6.ให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นอย่างเหมาะสม
ควรให้ทำงานอดิเรกหรือมอบหมายทำหน้าที่ต่างๆมีสันทนาการเหมาะสม ในกรณีระยะฟื้นฟูที่อยู่ระยะฟื้นฟูที่อยู่โรงพยาบาลนาน
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Gender dysphoria
การวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นอีกเพศหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกับเพศที่ถูก
กำหนดมาแต่กำเนิด โดยมีระยะเวลาไม่ต่ำกว่า6เดือน
2.ภาวะในข้อ1ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ใจอย่างมากหรือส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตด้านต่างๆ
การดูแลรักษา
1.หากตรวจพบโรคทางกายหรือความผิดปกติของพัฒนาการต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมพัฒนาการทางเพศตามปกติ
3.กรณีเป็นผู้ที่มีภาวะรักร่วมเพศที่ผ่านขั้นตอนตามข้อ1-2แล้วให้ความรู้ความเข้าใจ การปรับตัว การแสดงออกในสังคม การทำความเข้าใจตนเอง
4.หลังจากรักษาเบื้องต้นทางจิตใจและสังคมแล้ว ผู้ป่วยยังคงต้องการแปลงเพศ จิตแพทย์จะให้ความรู้เรื่องโรคและการแปลงเพศ ให้คำปรึกษาผู้ป่วยและครอบครัว
Paraphilic disorders (ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศ)
1.การใช้ยา ใช้หลักการลดระดับ testosterone
1.1antiandrogen
1.2hormonal agents
2.การรักษาด้วยจิตบำบัด
2.1cognitive behavioral therapy
2.2relapse prevention therapy
2.3victimempathy
3.พฤติกรรมบำบัด ใช้หลักการของpositive and negative
reinforcements
3.2covert sensitization
3.3masturbatory satiation
3.1olfactory aversion conditioning
3.4orgasmic reconditioning
กลุ่มบำบัด
3.1กลุ่ม anomalous activity preference
Exhibitionistic disorder
Sexual Masochism disorder
Voyeuristic disorder
Sexual Sadism disorder
3.2กลุ่มanomalous target preference
Fetishistic disorder
Transvestic disorder
Pedophilic disorder
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่พบได้
ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษาเนื่องจากมีความเชื่อตามวัฒนธรรมที่ไม่ถูกต้อง
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากความวิตกกังวล
การนับถือคุณค่าในตนเองต่ำเนื่องจากรู้สึกไม่สามารถให้ความสุขกับภรรยาได้
การทำหน้าที่ในครอบครัวบกพร่องเนื่องจากการแสดงบทบาทผิดเพศ
การมีความทุกข์ทางจิตวิญญาณ เนื่องจากขาดความสุขทางเพศในการครองชีวิตคู่
การปฏิบัติทางการพยาบาล
ช่วยผู้ป่วยประเมินความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับความกลัวความวิตก
กังวล หรือการเกิดภาวะซึมเศร้า ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับปัญหาทางเพศ
ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับเรื่องเพศ
แนะนำผู้ป่วยให้รู้จักการสื่อสารอย่างเหมาะสม และให้โอกาสผู้ป่วยได้
ฝึกทักษะการมีสัมพันธภาพ
ให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับความผิดปกติทางเพศ ถึงสาเหตุ อาการ และการบำบัดรักษาตลอดจนวิธีการประเมินความแปรปรวน ทั้งทางร่างกายและจิตใจที่เกิดขึ้น
แนะแนวทางให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกวิธี
ให้ความสำคัญกับปัญหาปัจจุบันของผู้ป่วยก่อน
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่ยอมรับ เข้าใจ และพร้อมที่จะรับฟังผู้ป่วย
ก่อนการเริ่มกิจกรรมพยาบาล พยาบาลไม่เพียงแต่ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้อง
Sexual dysfunctions(ภาวะบกพร่องทางเพศ)
การวินิจฉัย
1.มีอาการติดต่อกันนาน6เดือนขึ้นไป
2.อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ75-00)ในกิจกรรมทางเพศของบุคคลนั้น
3.ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกาย เช่น การบาดกิจกรรมทางเพศของบุคคลนั้นเจ็บของเส้นประสาทที่มาเลี้ยงบริเวณอุ้งเชิงกราน
การักษา
1.การรักษาด้วยยาในกลุ่ม phosphodiesterase-5inhibitor ได้แก่ verdanafil ,tadalafil
2.พฤติกรรมบำบัด assertive training
โรคในกลุ่ม
1.delayed ejaculation
Erectile Disorder
Female Orgasmic Disorder
Female Sexual Arousal Disorders
5.Genito-pelvic pain/penetration dis
6.malehypoactive sexual desire disorder
7.premature (early) ejaculation
8.substance/medication-induced sexual dysfunction
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางการกิน
Anorrxia
Bing-Eating Purging Type
มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารคราวละมากๆพยายามขจัดอาหารที่ทานด้วยวิธีการต่างๆในระยะเวลา 3 เดือนบุคคลนั้นมีอาการกำเริบ
Restrioting Type
มีการจำกัดอาหาร มีการออกกำลังกายอย่างหักโหมในระยะเวลา 3 เดือนโดยบุคคลนั้นไม่มีอาการกำเริบ เจ้าอารมณ์ วิตกกังวลตั้งแต่วัยเด็กสภาพแวดล้อมมองว่าความผอมมากเป็นเรื่องดีอาชีพนางแบบ ดารา พันธุกรรม สรีระวิทยา
การวินิจฉัย
บุคคลที่ไม่มีอาการอยากอาหารต้องควบคุมน้ำหนักตัวอย่างรุนแรง
มีความกลัวอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการเพิ่มของน้ำหนัก
มีการจำกัดการรับประทานอาหาร
ไม่พอใจในน้ำหนักตัวหรือรูปร่างของตนเอง
ภาวะแทรกซ้อน
ฆ่าตัวตาย ผิวหนังแตกแห้ง ผิวสีเหลืองHR ไม่สม่ำเสมอ BT ต่ำท้องผูก หน้ามืด
อาการร่วม
โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรควิตกกังวลโรคย้ำคิดย้ำทำ โรคติดสุราสารเสพติดอื่นๆ
Bulimia Nervosa
การวินิจฉัย
รู้สึกหิวบ่อยๆรับประทานอาหารเยอะทานอาหารครั้งละมากๆบ่อยๆ
พฤติกรรมรับประทานอาหารยากกว่าปกติ
การประเมินตนเองขึ้นอยู่กับรูปร่างน้ำหนัก
บุคคลที่รับประทานอาหารมากผิดปกติเป็นช่วงๆควบคุมไม่ได้
ใช้วิธีไม่เหมาะสมการล้วงคออาเจียน
ใช้ยาระบายออกกำลังกายมาก
การใช้วิธีที่ไม่เหมาะสม
การล้วงคออาเจียน
การออกกำลังกายหนักมาก
การใช้ยาระบาย
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์
สภาพแวดล้อม
ความรู้สึกคุณค่าในตนเองต่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดท้อง ตับอ่อนอักเสบ
ผิวหนังรอบรอบปากเกิดการระคายเคือง
อาการร่วม
โรคย้ำคิดย้ำทำ
การใช้สารเสพติด
การล่วงละเมิดทางเพศ
บุคลิกภาพผิดปกติ
โรคซึมเศร้า
การพยาบาล
การบำบัดทางจิต
จัดอาหารให้กับผู้ป่วย
หากอยู่ในภาวะขาดสารอาหารมากต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
นางสาวอัฐชฎารัตน์ ศรีอาวุธ เลขที่130 62114301134