Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต, นางสาวอัฐชฎารัตน์ ศรีอาวุธ เลขที่130…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
การพยาบาลผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
Adjustment Disorders
ความผิดปกติต่อการปรับตัว กดดันจิตใจเครียดมากกว่าปกติ ตื่นตัวกว่าปกติ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในชีวิต
อาการ
กลัว วิตกกังวลคิดมาก สับสนเศร้า ปวดหัว
อ่อนเพลีย ใจสั่นนอนไม่หลับท้องผูก ท้องเสีย
การรักษา
ระบายปัญหา
ทำความเข้าใจปัญหา
ไตร่ตรอง
หาสาเหตุ
Somatoform Disorders
การพยาบาล
ดูแลทางด้านจิตใจ
ฝึกผ่อนคลาย เห็นใจ รับฟัง อธิบาย
Hypocondria
การวินิจฉัย
ไม่เข้ากับโรคจิตเวชอื่นๆ เป็นมากกว่า 6 เดือน Excessive health-relate behaviorsรับรู้ถึงความผิดปกติทางกายของตนได้ง่ายไม่มีอาการทางกายหรือมีน้อยกว่าเมื่อเทียบกับความกังวลหมกมุ่นว่าตนเองจะเจ็บป่วย
Conversion
การวินิจฉัย
อาการทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน บกพร่องต่อหน้าที่ความผิดปกติไม่สามารถอธิบายได้จากโรคทางกายหรือทางจิตเวชอื่นๆมีอาการด้านการเคลื่อนไหวหรือรับสัมผัส1 อาการขึ้นไปการตรวจพบความไม่เข้ากันระหว่างอาการและโรคทางระบบประสาท
ผลที่เกิดขึ้น
ไม่ต้องรับรู้ปัญหาด้านจิตใจ Primary gain
ได้รับการดูแลมากขึ้น Secondary gain
อาการระบบประสาท
ชัก Seizure symptom
การสัมผัส Sensory symptom เช่น ชารู้สึกตาบอด หูหนวก
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ Motor symptom อ่อนแรงทรงตัวลำบาก เคลื่อนไหวผิดปกติแต่ไม่ล้ม หรือล้มในท่าที่ตัวเองไม่บาดเจ็บ
Somatization
การวินิจฉัย
แม้ว่าอาการจะหายไป แต่ความคิดความกังวลยังคงอยู่มัก
เป็นนานกว่า 6 เดือนมีอย่างน้อย 1 อาการที่รบกวนชีวิต มีความคิด พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาการมากเกินไป อย่างน้อย 1 อาการ คิดอย่างไม่สมเหตุสมผลต่ออาการที่เป็นอยู่วิตกกังวลอย่างมาก
เสียเวลาและพลังงานไปมากกับอาการดังกล่าว
การรักษา
ยารักษาอาการอื่นๆ
Antidepressant
BZDs
วิตกกังวล
Phobia Disorder
Agoraphobia
กลัวชุมชนหรือที่โล่ง
กลัวว่าจะเกิดอันตรายกับตนเองในที่ต่างๆพยายามเลี่ยงที่ชุมชนหรือที่ โล่งกลัวการอยู่นอกบ้านตามลำพัง
เกิดความบกพร่องทางสังคม
การรักษา
CBT
SSRI Beta-blacker
การพยาบาล
เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้โดยไม่ตื่นกลัวให้ทางเลือกผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจในความปลอดภัย
หลีกเลี่ยงการหาเหตุผลมาอธิบาย
และคาดคั้นให้ผู้ป่วยทำตามให้ค่อยเผชิญความกลัวทีละน้อย
อาการ
กลัวอย่างมากและไม่มีเหตุผลไม่เหมาะสมกับสิ่งกระตุ้นกระทบชีวิตประจำวัน
การวินิจฉัย
กลัวสิ่งใดสิ่งหนึ่งเมื่อพบสิ่งกระตุ้นจะกลัวอย่างมาก
พยายามหลีกเลี่ยงอาการกลัวไม่สมเหตุสมผล
ต่อเนื่อง มากกว่า 6 เดือนไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ
PTSD - Post Traumatic
Stress Disorder
Acute Stress Disorders
Panic Disorderภาวะวิตกกังวลและเครียดสูงมาก
การวินิจฉัย
หลัง Panic attack มีอาการนี้
อย่างน้อย 1 อาการอย่างน้อย 1 ครั้งใน 1 เดือน
มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
กลัวว่าจะเกิดอาการขึ้นมาอีก กลัวควบคุมตนเองไม่ได้ กลัวตัวเองเป็นบ้า
ไม่ใช่ผลจากยา
เกิดโดยไม่คาดคิดบ่อยๆ
ไม่ใช่โรคทางจิตเวชอื่น
การรักษา
ยาSSRI tricyclic
ครอบครัวบำบัด
จิตบำบัดร่วมกับการใช้ยา
CBT มีประสิทธิภาพที่สุด
ตื่นตระหนกหรือกลัว
ฉับพลัน "Panic attacks"
ควบคุมตนเองไม่ได้
ง่วงนอน หาวบ่อย
ใจสั่น ตัวสั่น
Sweating
มึนงง วิงเวียน คล้ายจะเป็นลม
กลัวตนเองจะตาย
OCD - Obsessive
Compulsive Disorders
ประเภท
Holding - ทิ้งของลำบาก
Body dysmorphic - หมกมุ่นกับตำหนิร่างกาย
Excoriation (skin-picking) - ดึงผิวหนังตนเอง
Trichotillomania (hair-pulling) - ถอนผมหรือขนตนเอง
การพยาบาล
จัดตารางกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจเพื่อควบคุมอาการย้ำคิดย้ำทำ
ไม่ควรห้ามผู้ป่วย Behavioral Therapy
การวินิจฉัย
มีอาการย้ำคิด(obsession)
หรือย้ำทำ (compulsion)
-ความคิด มโนภาพซ้ำๆ ผุดมาเอง
-พยายามหยุดคิดหรือเพิกเฉย
-อาการย้ำทำทำเพื่อป้องกัน ลดความไม่สบายใจ
-พฤติกรรมช้ำๆ
Generalized Anxiety Disorders วิตกกิจวัตรประจำวันทั่วไป
การรักษา
ประคับประคอง
CBT พฤติกรรมบำบัด
ห้กำลังใจ
BNDs SSRI buspirone venlafaxine
อาการ
NN
เหงื่ออก
ตัวเย็น
ปวดกล้ามเนื้อ
ตัวสั่น
มือสั่น
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะวิกฤตและฉุกเฉินทางจิตเวช
ความหมาย
วิกฤตคือเหตุการณ์คับขันที่เกิดขึ้นเมื่อประสบกับอุปสรรคต่อเป้าหมายชีวิต
วิกฤตคือภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติ ทำให้
บุคคลต้องใช้กลไกการปรับตัวทำให้สมรรถภาพการแก้ไขปัญหาของบุคคลลดลง
องค์ประกอบภาวะวิกฤต
1.การรับรู้เหตุการณ์ของบุคคล
การสูญเสียและการพรากจากกัน ท้าทายความสามารถ
เป็นจริงหรือบิดเบือน
2.การมีบุคคลที่ช่วยเหลือ ช่วยปกป้องและให้กำลังใจเกิดความรู้สึกมั่นคงในทางตรวกันข้ามอาจทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลจะทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์
3.ความสามารถในการเผชิญกับความเครียด บุคคลมีความสามารถในการเผชิญกับความเครียดได้ดี อาจใช้วิธีหาคนปรีกษา พูดถึงปัญหาทำกิจกรรมลดความเครียด
ระยะของภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (Phase of crisis)
Crisis period
บุคคลจะมีความตึงเครียดจะเพิ่มขึ้น รู้สึกกลัว วิตกกังวล บุคคล
พยายามที่จะคิดหาวิธีการแก้ปัญหาใหม่
Post-crisis period
บุคคลมีการปรับตัวกลับมาเข้มแข็งและทำหน้าที่ได้
มี3ระดับ
มีความเข้มแข็งและทาหน้าที่ได้เหมือนเดิม
มีความเข้มแข็งและทำหน้าที่ได้ดีกว่าเดิม
มีความเข้มแข็งและทำหน้าที่ได้ต่ำกว่าเดิม
Pre-crisis period
บุคคลเริ่มเผชิญกับความเครียด สิ่งคุกคามที่ทำให้เกิดความคับ
ข้องใจ เกิดความตึงเครียดเล็กน้อย แต่บุคคลจะรับรู้และนำ
ประสบการณ์ที่เคยผ่านมาใช้แก้ปัญหา
ประเภทของภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ภาวะวิกฤตจากสถานการณ์
การว่างงานและตกงาน
การเสียชีวิตของบุคคลอันเป็นที่รัก
การตั้งครูรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ภาวะวิกฤตจากภัยต่างๆ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ภัยพิบัติจากความขัดแย้งระหว่างชาติ
อาชญากรรมและการกระทำรุนแรง
ภาวะวิกฤตจากพัฒนาการ
พัฒนาการออกเป็น 8 ขั้นตอน (Erik H.Erikson)
1-3 ปี 3-5 ปี ,5-12 ปี ,วัยรุ่น , วัยผู้ใหญ่ , วัยกลางคน และวัยผู้สูง
อายุ
ความรู้สึกของบุคคลในภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ความวิตกกังวล
ความกลัว
ความโกรธ
ความหมดหนทาง
รูปแบบการช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต
ระดับที่ 1การจัดการสิ่งแวดล้อม
ระดับที่ 2การประคับประคองทั่วไป
ระดับที่ 3การช่วยเหลือแบบกลุ่ม
ระดับที่ 4 การช่วยเหลือรายบุคคล
การประเมิน (Assessment) ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
เหตุการณ์ให้เกิดภาวะวิกฤตการรับรู้เหตุการณ์ของผู้ใช้บริการ
ความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้ใช้บริการระบบสนับสนุนของผู้ใช้บริการทักษะการแก้ปัญหาของผู้ใช้บริการ
ด้านจิตวิญญาณ
มีความรู้สึกสิ้นหวัง
มีความบีบคั้นทางจิตวิญญาณเพราะการรับรู้บิดเบือน
ด้านสังคม
มีความวิตกกังวลเนื่องจากสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความเครียด
มีความวิตกกังวลจนไม่สามารถเผชิญปัญหาได้การมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมบกพร่องเพราะขาดแหล่งช่วยเหลือสนับสนุน
ด้านสติปัญญา
กระบวนการคิดบิดเบือนจากการรับรู้ถูกรบกวนมีความจำบิดเบือน
การสื่อสารทางภาษาบกพร่อง
ด้านอารมณ์
วิตกกังวลจนไม่สามารถเผชิญปัญหาได้เนื่องจากภาวะวิกฤตมีความรู้สึกสิ้นหวังเสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรงเนื่องจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์โกรธได้
การวางแผนการพยาบาล
ด้านอารมณ์ เพื่อลดความวิตกกังวลซึ่งก่อให้เกิดภาวะวิกฤต
ด้านสติปัญญา เพื่อช่วยให้บุคคลเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านจิตใจ เพื่อช่วยให้บุคคลสามารถแยกแยะสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตได้
ด้านสังคม เพื่อช่วยหาแหล่งช่วยเหลือสนับสนุน
ด้านจิตวิญญาณ เพื่อช่วยให้บุคคลมีความรู้สึก มีความหวังรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในตนเอง
จิตเวชฉุกเฉิน
การพยาบาลจิตเวชฉุกเฉิน
ภาวะที่เกิดมีความคิด อารมณ์หรือพฤติกรรมที่ผิดปกติเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง จนอาจทำให้เกิดความเสียหาย หรืออันตรายต่อตัวผู้ป่วยเอง ผู้อื่น และทรัพย์สินได้
การพยาบาลผู้ป่วยทางจิตเวชที่มีอาการทางจิตรุนแรง หรือมีลักษณะ
เสี่ยงต่อภาวะก่อพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น
หลักการประเมินความฉุกเฉินทางจิตเวช
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง ทำร้ายตนเอง ผู้อื่น หรือทำลายทรัพย์สิน
ผู้ป่วยตะโกนเสียงดัง รบกวนบุคคลอื่นผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ทำให้ญาติและบุคคลอื่นตื่นกลัวผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
ผู้ป่วยที่ควบคุมพฤติกรรมตนเองไม่ได้ผู้ป่วยที่หลีกเลี่ยงการตอบคำถาม และพยายามหนีจากเหตุการณ์ผู้ป่วยที่มีอาการทางด้านร่างกายที่แสดงให้เห็นว่าเจ็บป่วยกะทันหันและมีสัญญาณชีพที่ผิดปกติ และมีพฤติกรรมแปลกไป
คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวชในการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
มีความตื่นตัวในการช่วยเหลือ และปฏิบัติด้วยความคล่องแคล่วว่องไว
แสดงถึงความเต็มใจที่จะจัดการกับภาวะเสี่ยง และมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติจนเกิดผลสำเร็จท่าทางที่สงบ สุขุม รอบคอบ ในการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉินเข้าใจเป้าหมายในการปฏิบัติการช่วยเหลือเข้าใจเจตนาตนเองในการกระทำและเชื่อมั่นในการเลือกใช้วิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติการสามรถแยกปัญหาฉุกเฉินที่แท้จริงออกจากสถานการณ์วิกฤตที่ดำเนินอยู่ได้
การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับ
ความสำคัญ
เร่งด่วน (Acute)
สภาพความเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทันทีภายใน
นาที
ไม่เร่งด่วน (Non acute)
สภาพที่ไม่เร่งด่วน สามารถรอเวลาเพื่อสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงได้
ส่งต่อ (Refer)
ผู้รับบริการที่ควรส่งไปรับบริการจากแหล่งที่มีบริการรักษาและช่วยเหลือเฉพาะทาง
เร่งด่วนฉุกเฉิน (Urgent)
สภาพเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ทันที
การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
ต้องวิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของข้อมูลความรวดเร็ว และระมัดระวังเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของปัญหาทำความเข้าใจต่อลักษณะเฉพาะของปัญหาแต่ละปัญหาและพฤติกรรมตอบสนองต่อปัญหาที่แตกต่างกันภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินก่อให้เกิดความกดดันต่อบุคคลซึ่งมีผลให้ความอดทนต่อปัญหาของบุคคลต่ำลง รวมทั้งจะไม่สามารถรับรู้ และตอบสนองต่อความช่วยเหลือการพิจารณาตัดสินและลำดับความสำคัญของปัญหาที่
ต้องการการช่วยเหลือต้องอาศัยการสังเกต และการทำความเข้าใจความรู้สึกการที่พยาบาลสามารถวินิจฉัยปัญหา และสามารถควบคุมสถานการณ์อันตรายในเบื้องต้นได้
เป้าหมายของการวางแผนการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
เป้าหมายหลัก
ป้องกันอันตรายต่อชีวิตของผู้รับบริการและผู้อื่น
เป้าหมายรอง
การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้รับริการสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ของตนเองได้
กิจกรรมการช่วยเหลือบุคคลในภาวะฉุกเฉิน
ใช้กลยุทธ์ทางการพยาบาลในการจัดการกับปัญหาตามสภาพความเร่งด่วนมีการวางแผนการใช้แหล่งสนับสนุนอย่างเหมาะสมก่อนดำเนินการช่วยเหลือปฏิบัติการช่วยเหลือบุคคลในภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชเป็นแผนที่ปฏิบัติได้ทันที และมีวิธีการที่ยืดหยุ่นได้ใช้กระบวนการจัดการที่มุ่งการป้องกัน ไม่ให้เกิดความรุนแรงหรืออันตรายต่อชีวิตเป็นการจัดการที่ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงลงสู่ระดับที่คนสามารถเป็นแผนที่สามารถประเมินได้ทั้งระหว่างการช่วยเหลือและควบคุมได้หลังการช่วยเหลือ
การดูแลและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง
ระดับที่ 1 การป้องกันการเกิดความรุนแรง (prevention ofviolence)
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม อาจช่วยป้องกันหรือลดความ
เสี่ยงของการเกิดความรุนแรงได้
เทคนิคการติดต่อสื่อสาร (communication skill) ช่วยใช้ผู้ป่วยที่เริ่มจะมีอาการโกรธ และก้าวร้าวนั้นสงบสติอารมณ์ลง
ระดับที่ 2 การป้องกันอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่น(protection of patient and others)
ผู้ป่วยที่เริ่มเข้าสู่ Escalation Stageมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมตนเองได้ และไม่ทำร้ายตนเองหรือผู้อื่นพยาบาลยังคงใช้น้ าเสียงที่นุ่มนวล สุภาพแต่มั่นคงผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกตั้งข้อจำกัดทางพฤติกรรมโดยการบอกให้ผู้ป่วยทราบอย่างนุ่มนวลเมื่อผู้ป่วยแสดงกิริยาไม่เหมาะสม
ระดับที่ 3การควบคุมพฤติกรรมรุนแรง (Violence Control)
การแยก/จำกัดบริเวณ คือ การจำกัดอิสรภาพของป่วยในการเคลื่อน
ย้ายไปในที่อื่นๆเป็นการบังคับให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องที่เงียบ สงบและปลอดภัย โดยไม่มีการผูกยึด
การผูกยึด ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะก้าวราวรุนแรง มีความเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
การใช้ยาควบคุมอาการ ในกรณีที่ผู้ป่วยก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรงจนควบคุมไม่ได้
นางสาวอัฐชฎารัตน์ ศรีอาวุธ เลขที่130 62114301135