Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 :<3: แรงจูงใจ - Coggle Diagram
บทที่ 9 :<3:
แรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีแรงขับ
เมอร์เรย์
ความต้องการเป็นพื้นฐานให้เกิดแรงขับ
ทฤษฎีมนุษยนิยมของมาสโลว์
แรงจูงใจเป็นแรงขับที่ให้มนุษย์เจริญเติบโตและพัฒนา
ความหมายของความต้องการพื้นฐาน 5 ชนิดตามทฤษฎีของมาสโลว์
สรีระ
ความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ และการพักผ่อน
ความมั่นคงปลอดภัยหรือสวัสดิภาพ
เป็นอิสระจากความกลัว ขู่เข็ญ บังคับ
ความรักและเป็นส่วนหนึ่งของหมู่
มนุษย์ทุกคนต้องการเป็นที่รักของผู้อื่น
ความรู้สึกว่าตนเองมีค่า
ประสบความสำเร็จ ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น
ความต้องการที่จะรู้จักตนเอง
ปรารถนาที่จะเป็นคนดี
ทฤฎีพุทธิปัญญานิยม
ความยากง่ายของงาน
ตำแหน่งของสาเหตุภายใน-ภายนอก
เสถียรภาพของสาเหตุคงตัว-ไม่คงตัว
การควบคุมสาเหตุควบคุมได้-ควบคุมไม่ได้
การรับรู้สาเหตุของความสำเร็จหรือไม่โดยผู้อื่น
อายุกับการอ้างสาเหตุของความสำเร็จหรือไม่
ความสำคัญการอ้างสาเหตุของความสำเร็จหรือไม่ของงาน
มีอิทธิพลต่อการตั้งความคาดหวังในความสัมฤทธิผลในอนาคต
มีอิทธิพลต่ออัตมโนทัศน์และความรู้สึก
ของผู้กระทำ
แรงจูงใจภายในและภายนอก
แรงจูงใจภายใน
ประเภท
จิตวิทยา
อิสระ
มีความสัมพันธ์
แรงจูงใจภานนอก
มาจากแรงเสริม
สิ่งแวดล้อมภายนอก
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
การวัด
แบบทดสอบทีมมาติค แอพเพอเซ็ปชั่น
การอบรมเพื่อเพิ่มแรงจูงใจ
1.ปฐมนิเทศ
2.เล่นเกมตามกติกา
3.แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และเกม
4.อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของความคิด
5.เปิดโอกาสให้ซักถาม
6.อภิปรายความขัดแย้ง
แรงจูงใจและการเรียนรู้
นักเรียนมีระดับแรงจูงใจแตกต่างกัน
บทบาทของครู
ปรับปรุงวิธีการสอน
ทำงานร่มกับนักเรียน
ทำงานร่วมกับผู้ปกครอง