Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและการจัดบริการสุขภาพในประเทศไทย - Coggle Diagram
โครงสร้างและการจัดบริการสุขภาพในประเทศไทย
การดำเนินงานด้านสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
บริการประชาชนทุกเพศทุกวัย
กิจกรรม เช่น การส่งเสริมการออกกำลังการของประชาชน
มุ่งบริหารสุขภาพกายและจิต
การป้องกันและควบคุมโรค
ป้องกันและควบคุมโรคในหมู่ประชาชน
เช่น การจัดการระบบสุขาภิบาล การกำจัดพาหะนำโรค เป็นต้น
การรักษาพยาบาล
วินิจฉัยและรักษาประชาชนที่เจ็บป่วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจผู้ป่วยให้กลับเป็นปกติ
ทำไมถึงต้องมีระบบบริการสุขภาพ
แบ่งเบาภาระให้โรงพยาบาลใหญ่
ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว
จัดลำดับความสำคัญของอาการป่วย
โครงสร้างของสถานบริการสุขภาพ
การจัดบริการสุขภาพส่วนกลาง
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และอื่นๆ
สภากาชาดไทย
หน่วยงานการรับผิดชอบต่างๆมากมาย
การจัดบริการสุขภาพส่วนภูมิภาค
ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลศูนย์ การบริการอยู่ในระดับ 3 แต่มีบุคลากรน้อยกว่าโรงพยาบาลมหาราช
โรงพยาบาลทั่วไป หน้าที่คล้ายโรงพยาบาลศูนย์ แต่ด้อยกว่า การบริการระดับ 2-3
โรงพยาบาลมหาราช มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง การบริการระดับ 3
ระดับตำบลและหมู่บ้าน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เน้นบริการสาธารณสุขผสมผสาน บริการระดับ 1-2
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน บริการด้านสุขอนามัย
ระดับอำเภอ
โรงพยาบาลชุมชน ฟื้นฟูสุขาภิบาลระดับชุมชน รับ-ส่งผู้ป่วยต่อ การบริการระดับ 2
การประกันสุขภาพเอกชน
ความเชื่อมต่อของรับบบริการสุขภาพในไทย
2.การบริการสาธารณสุขระดับ 1
เน้นการรักษาผู้ป่วยระดับต้น
ระดับตำบล เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
3.การบริการสาธารณสุขระดับ 2
จัดสำหรับประชาชนที่ป่วยเกินขีดจำกัดของโรวพยาบาลประจำตำบล
เช่น โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป
1.การบริการสาธารณสุขมูลฐาน
ระดับหมู่บ้านและชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
เน้นไปทางการป้องกันโรค
4.การบริการสาธารณสุขระดับ 3
สำหรับประชาชนที่ป่วยด้วยโรคซับซ้อนและต้องการเครื่องมี ความรู้เฉพาะทาง
เช่น โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลเฉพาะทาง
การจัดบริการสุขภาพเกี่ยวกับอะไร
การจัดบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อแก้ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชน