Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการบริการสุขภาพในประเทศไทย - Coggle Diagram
การจัดการบริการสุขภาพในประเทศไทย
จุดประสงค์
แก้ปัญหาความต้องการของประชาชนเรื่องสุขภาพ
ยกระดับสุขภาพของประชาชนให้ดีขึ้น
การให้บริการโดยหน่วยงานรัฐบาล
การจัดสถานบริการสุขภาพในส่วนกลาง
กระทรวงสาธารณะสุข
โรงพยาบาลราชวิถี
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
สถาบันโรคทรวงอก
กระทรวงกลาโหม
โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โรงพยาบาลตำรวจ
กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลสิรินธร
โรงพยาบาลชิรพยาบาล
โรงพยาบาลกลาง
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลศิริราช
โรงพยาบาลรามาธิบดี
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุด
สภากาชาดไทย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
การจัดสถานบริการสุขภาพในส่วนภูมิภาค
ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลมหาราช
เตียงมากกว่า 1,000 เตียง
ตรวจรักษาโรคทั่วไป/เฉพาะทาง
มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
โรงพยาบาลทั่วไป
เตียง 140 - 400 เตียง ไม่เกิน 500 เตียง
ศักยภาพในการรักษาด้อยกว่า
โรงพยาบาลศูนย์
เตียง 500 - 1,000 เตียง
ตรวจรักษาโรคทั่วไป/เฉพาะทาง
มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ระดับอำเภอ
โรงพยาบาลชุมชน
เตียง 10 -120 เตียง (ไม่เกิน 150 เตียง)
บริการสุขภาพแบบผสมผสาน
รับทั้งผู้ป่วยใน/นอก
มีระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรักษาต่อ
ระดับตำบลและหมู่บ้าน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล(รพ.สต.)
บริการสุขภาพแบบผสมผสาน
ระดับบุลคล ชุมชน สังคม
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน(สสช.)
บริการสุขภาพแบบครอบคลุม
การให้บริการโดยหน่วยงานเอกชน
โรงพยาบาลเอกชน
คลินิก
ร้านขายยา
สมาคมต่างๆ
สถานบริการอื่นๆ(เช่น นวดแผนไทย)
จุดมุ่งหมายสำคัญ
การส่งเสริมสุขภาพ(Health Promotion)
การป้องกันและควบคุมโรค(Diseases Prevention)
การรักษาพยาบาล(Treatment)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ(Rehabilitation)