Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิปัญญาไทย - Coggle Diagram
ภูมิปัญญาไทย
บทที่5บทบาทพยาบาลในการส่งเสริม
ภูมิปัญญาไทย
การสนับสนุน เกื้อหนุน ช่วยเหลือในด้านภูมิปัญญาไทย
การสร้างพลังอำนาจให้บุคคลสามารถพึ่งพาตนเองได้ทางสุขภาพ
ศึกษาและบเรียนรู้ภูมิปัญญาต่างๆ
เรียนรู้ให้เข้าใจ เเละนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
นวดย่ำขาง พื้นบ้านล้านนา
โนราเหยียบเสน
นวดเหยียบเหล็กแดง
ปฎิบัติจากการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาร่วมกัน
เรียนรู้จากผู้ทรงภูมิปัญญาหรือปราชญ์ชาวบ้านให้ภ่องแท้
ทบทวนเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์เเละงานวิจัยที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยนำมาเรียงเป้นเเนวปฏิบัติ
ประเมินผลการปฏิบัติแนวปฎิบัติ พร้อมปรับปรุงในส่วนที่บกพร่อง
ร่วมกันหารือกับเเพทย์ผู้ดูแลเพื่อรับทราบแนวทางปฏิบัติร่วมกัน พร้อมกับปรับแก้ตามข้อเสนอเเนะ
นำแนวปฎิบัติที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขไปทดลองใช้กับผู้ป่วยจริง
กำหนกเป็นแนวทางปฎิบัตินวัตกรรมการดูเเลผู้ป่วยโดยใช้ภูมิปัญญาไทย
กลวิธีการสร้างพลังอำนาจ
การรับรู้ความสามารถตนเอง
การจัดการตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
บทที่1 ภูมิปัญญาไทย
ความหมายภูมิปัญญาไทย
ภูมิ : แผ่นดิน
ปัญญา : องค์ความรู้ที่มีคุณธรรม
ภูมิปัญญา : องค์ความรู้/ สัมพันธ์กับแผ่นดินใช้ในการดำรงชีวิต
ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม :
จัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่อีกรุ่นหนึ่ง
จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์
คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาไทย
เป็นผู้มีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถ
ขยันหมั่นเพียร จนประสบความสำเร็จ
เป็นผู้นำท้องถิ่น คนในสังคมให้การยอมรับยกย่องนับถือ
เป็นนักปกครองเเละประสานประโยชน์ของท้องถิ่น
มีความสามารถในการสอน ถ่ายทอดความรู้
เป็นผู้มีความรอบรู้ สามารถสร้างผลงานใหม่ที่เป็นประโยชน์
คุณค่าของภูมิปัญญาไทย
ประยุกต์หลักธรรมคำสอนทางศาสนาใช้กับวิถีชีวิต
การอยู่ไฟ
การโกนผมไฟ
การรดน้ำสังข์
การรดน้ำศพ
ช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น
พ่อขุนราม ปกครองประชาชนด้วยความสุข
พระนเรศวร ทำยุทหัตถี
สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคมแและธรรมชาติ
ประเพณีบวชป่า
พระแม่คงคา
ขอบข่าย
ด้านเกษตรกรรม
ด้านอุตสาหกรรมเเละหัตกรรม
ด้านแพทย์แผนไทย
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งแวดล้อม
ด้านกองทุนเเละธุรกิจชุมชน
ด้านสวัสดิการ
ด้านการจัดการ
บทที่ 4 แนวทางการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองทางสุขภาพ
การพึ่งพาตนเองทางสุขภาพ
ความสามารถในการดูแลตนเองด้านสุขภาพได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสมดุล
การพึ่งตนเอง=ตนเอง,ชุมชน,สังคม
การสร้างพลังอำนาจเพื่อการพึ่งพาตนเองทางสุขภาพ
พลังอำนาจ EMPOWERMENT ให้พลังในสิ่งที่คนต้องการ เป็นความรู้สึกหรือความปรารถนาของบุคคลที่ต้องการควบคุมบุคคล สถานการ์ณ สิ่งคาดหวังตามที่ตนเองต้องการ
ภาวะไร้พลังอำนาจ ความรู้สึกหรือการรับรู้ว่าตนเองไม่สามารถควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเองได้ บุคคลจะรู้สึกสูญเสียคุณค่าและความเป็นตัวเอง เช่น
เศร้า เสียใจ ความเจ็บป่วย
กระบวนการทางสังคมถึงการยอมรับ ชื่นชม ส่งเสริม พัฒนา
แนวคิดทางสุขภาพวิถีธรรมวิถีไทย
1การรับประทานสมุณไพรปรับสมดุล
2กัวซา/ขูดซา/ขูดพิษ/ขูดลม
3การสวนล้างลำไส้
4การแช่มือแช่เท้าในน้ำสมุณไพร
5.การพอกหรือทาหยอด ประคบ ด้วยสมุณไพรที่ถูกกัน
6การออกกำลังกาย กดจุดลมปราณ โยคะ กายบริหาร
7รับประทานอาหารปรับสมดุล
8.ใช้ธรรมะละบาป ทำใจให้สบาย
9.รู้เพียร รู้พักให้พอดี
การพึ่งพาตนเองทางสุขภาพตามแนวคิดวิถีธรรมวิธีไทย
แพทย์ทางเลือก เน้นการปรับสมดุลด้านต่างๆ เคมี ชีวจิต โครงสร้าง
แพทย์แผนไทย เน้นภูมิปัญญาของไทยและธรรมะแนวพุทธ
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 2 การฟื้นฟูและส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในปัจจุบัน
นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวกับการพัฒนาภูมิปัญญาไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบูรณาการระบบบริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือก และระบบยาจากสมุนไพรกับระบบการแพทย์อื่นๆ (Integration of Health Service Systems)
การประกาศใช้ พรบ.วิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ.2556
การจัดตั้งกองทุนการแพทย์แผนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพ
โรงพยาบาลแพทย์แผนไทยต้นฉบับ
การเพิ่มขึ้นของรายการยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 โดยยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างภูมิปัญญาไทย สุขภาพวิถีไทยให้เข้มแข็งด้วยองค์ความรู้ ใช้ความรู้ ปัญญา และงานศึกษาวิจัยนำการเปลี่ยนแปลง (Wisdom)
แนวทางการพัฒนา/ฟื้นฟูและส่งเสริมภูมิปัญญา
แนวทางแรก คือ การพัฒนาในกระแสหลักเป็นการแข่งขันที่เน้นความมีประสิทธิภาพสูงสุดในเวทีโลก
แนวทางที่สอง คือ การพัฒนาชุมชนในระดับรากหญ้าซึ่งมีเป้าหมาย คือ การพัฒนาที่ยั่งยืน
สภาพปัญหาของภูมิปัญญาไทย
ตัวภูมิปัญญา
มีความยุ่งยากในการใช้ เก่า ไม่ทันสมัย
ใช้ประโยชน์ได้ไม่ทันใจ
สิ่งแวดล้อม
รับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกโดยมีการนำความรู้ใหม่มาใช้พัฒนา
ผู้ถ่ายทอด
ไม่มีการบันทึกข้อมูล
ขาดผู้นำและหน่วยงานในการถ่ายทอด
ถ่ายทอดให้เฉพาะคนในครอบครัวและญาติ
คนรุ่นใหม่ไม่นิยมสืบทอดภูมิปัญญา
วิธีถ่ายทอดขาดความเป็นระบบ
ตัวบุคคล (คน)
ไม่มีความเข้าใจในภูมิปัญญา
ถูกทำให้มีความชื่นชอบในแนวตะวันตก
บทที่ 3 ภูมิปัญญาในการดูเเลสุขภาพ
เเนวคิดภาวะการดูเเลสุขภาพเเบบองค์รวม
สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
สุขภาวะทางสังคม
สุขภาวะทางจิตใจ
สุขภาวะทางกาย
การเเพทย์เชิงมนุษยนิยม+สุขภาพทางเลือกมาไว้ด้วยกัน
คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ไม่คำนึงเเต่โรคเเละการวินิจฉัย
ผู้ใช้บริการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
กระตุ้นสนับสนุนผู้ใช้บริการมีความรับผิดชอบของสุขภาพมากขึ้น
รักษาภาวะสมดุลองค์รวมสภาพเเวดล้อมที่เเปรเปลี่ยนไป
ภูมิปัญญาไทยกับการดูเเลสุขภาพ
ธรรมานามัย
กายานามัย
การปรับโครงสร้างร่างกาย เช่น นวด โยคะ ไท้เก็ก ชี่กง การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ กดจุลมปราณ ฤษีดัดตน ฝังเข็ม
การปรับสมดุลชีวเคมีในร่างกาย เช่น กินสมันไพรปรับธาตุ ชีวจิต
ชีวิตตามามัย
การดำเนินชีวิตเเบบพอเพียง สายกลาง
เเสดงบทบาทหน้าที่ได้อย่างสมดุลพอดี
สามารถจัดการกับสิ่งต่างๆได้อย่างลงตัว เกิดความสมดุล
กายดีจิตดีชีวิตดี
จิตตานามัย
ชีวิต+อนามัย
สมาธิ
กลิ่นบำบัด
จินตนาภาพบำบัด
หัวเราะบำบัด
ศาสนาบำบัด
ศิลปะบำบัด
ภูมิปัญญาไทยกับการดูแลสุขภาพเเบบองค์รวม
โหราศาสตร์การเเพทย์/การทำนายรูปเเบบต่างๆ
ราศีพฤษภ แทน คอ และต่อมต่างๆ
ราศีตุล แทน ท้องน้อย ไต
ราศีพิจิก แทน อวัยวะเพศ รูทวาร
ราศีเมถุน แทน แขน ไหล่ ปอด
ราศีกรกฎ แทน หน้าอก เต้านม
ราศีธนู แทนต้นขา สะโพก
ราศีสิงห์ แทนหัวใจ กระดูกสันหลัง
ราศีมังกร แทนหัวเข่า
ราศีกุมภ์ แทนน่อง
ราศีเมษร่างกายแทนอวัยวะตั้งแต่ส่วนศีรษะใบหน้าตาหู จมูก
ราศีมีน แทนข้อเท้า และปลายเท้า
ราศีกันย์ แทนท้อง ลำไส้ ม้าม
สมุนไพร
รสยา 9 รส
ฝาด สมาน
หวาน ซึมซาบเนื้อ
เมาเบื่อแก้พิษ
ขม บำรุงโลหิตและดี
เผ็ดร้อน ขับลม
มัน บำรุงเอ็น
หอมเย็นหัวใจ
เค็มซึมซาบผิวเนื้อ
เปรี้ยวกัดเสมหะ จืดขับปัสสาวะ
ธาตุเจ้าเรือน
ธาตุสมุฏฐาน
เปรียบเทียบเดือนเกิดในธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ
อุตุสมุฏฐาน
ฤดูหนาว(น้ำ)
ฤดูร้อน(ไฟ)
ฤดูฝน(ลม)
อายุสมุฏฐาน
ปัจฉิมวัย (มากกว่า 32 ปี ขึ้นไป)
มัชฉิมวัย (16-32 ปี) :
ปฐมวัย (เเรกเกิด -16 ปี)
กาลสมุฏฐาน
06.00-10.00 และ 18.00-22.00 น. ธาตุน้ำ
02.00-06.00 และ 14.00-18.00 น. ธาตุลม
10.00-14.00 และ 22.00-02.00 น. ธาตุไฟ
ประเทศสมุฏฐาน
ภูเขาสูง เนินเขา ธาตุไฟ
น้ำฝน กรวดทราย เก็บน้ำไม่อยู่ ธาตุน้ำ
น้ำฝน โคลนตม ฝนตกชุก ธาตุลม
น้ำเค็ม โคลนตม ชื้นแฉะ ธาตุดิน
การนวดไทย
ประโยชน์ของการนวดไทยเพื่อสุขภาพ
๑. ระบบการไหลเวียนของโลหิต
๒. ระบบกล้ามเนื้อทำให้กล้ามเนื้อมีประสิทธิภาพดีขึ้น ลดอาการเมื่อยล้า ทำให้กล้ามเนื้อ หย่อนลง ผ่อนคลาย
๓. ผิวหนัง ทำให้เลือดมาเลี้ยงผิวหนังบริเวณนั้นมากขึ้น
๔. ทางเดินอาหาร เพิ่มความตึงของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่กระเพาะอาหารและ ลำไส้ ทำให้เจริญอาหาร ช่วยลดอาการท้องอืด
๕. มีต่อจิตใจทำให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย สบายกายและใจ รู้สึกแจ่มใส กระฉับกระเฉง ลดความเรียดและความวิตกกังวล
สุคนธบำบัด เเละการประคบสมุนไพร
ยาหม่อง
ยาดมสมุนไพร
ยาลดการอักเสบในลำคอ
ยาลดปวดกล้ามเนื้อ