Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่💌, :star:สมาชิกในกลุ่ม :, :pencil2: อ้างอิง…
ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่💌
-
:red_flag:ละครพูด
:star: ประเภทของละครพูด
♡ ละครพูดล้วนๆ
-
เรื่องที่เเสดง
เรื่องเเรกคือเรื่อง "โพงพาง" เมื่อพ.ศ.๒๕๖๓ เรื่องต่อมา คือ เรื่อง "เจ้าข้า สารวัตร" ทั้ง ๒ เรื่องเป็นบท พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยุ่หัว นอกจากนี้ยังมีบทพระราชนิพนธ์ในพระองค์อีกมากมายที่นิยมนำมาเเสดง
-
-
-
-
วิธีการเเสดง
ดำเนินเรื่องด้วยวิธีพูด ใช้ท่าทางเเบบสามัญชนประกอบการพูดที่เป็นธรรมชาติ ลักษณะพิเศษของละครพูดชนิดนี้คือ ในขณะที่ตัวละครคิดอะไรอยู่ในใจมักใช้วิธีป้องการบอกกับคนดู
♡ ละครพูดเเบบร้อยกรอง
-
เรื่องที่เเสดง
จำเเนกตามลักษณะคำประพันธ์ดังนี้ คือ ละครพูดคำกลอนจากบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น เรื่อง เวนัชวานิช พระร่วง ละครพูดคำฉันท์ ได้เเก่ เรื่อง มัทนะพาธา เเล้วยังมีละครพูดคำฉันท์อีกเรื่องหนึ่งที่นิยมนำมาเเสดง คือ เรื่องสามัคคีเภท ของนายชิต บุรทัต ละครพูดคำโคลง ได้เเก่ เรื่อง สีนาฬิกา ของอัฉราพรรณ (นายมนตรี ตราโมท)
-
-
ผู้เเสดง
ใช้ผู้เเสดงทั้งชายเเละหญิง มีบุคลิก เเละการเเสดงเหมาะสมตาม ลักษณะที่บ่งไว้ในบทละคร น้ำเสียงเเจ่มใสชัดเจนดี เสียงกังวาน พูด ฉะฉานไหวพริบดี
วิธีการเเสดง
ดำเนินเรื่องด้วยวิธีการพูดที่เป็นคำประพันธ์ชนิดคำกลอน คำฉันท์ คำโคลง ซึ่งมีวิธีอ่านออกเสียงปกติ เหมือนละครพูดร้อยเเก้ว เเต่มีจังหวะ เน้นสัมผัสตามชนิดของคำประพันธ์นั้นๆ
-
♡ ละครพูดสลับรำ
-
-
-
-
วิธีการเเสดง
ยึดถือบทพูดมีความสำคัญในการดำเนินเรื่องเเต่เพียงอย่างเดียว บทร้องเป็นเพียงบทเเทรกเพื่อเสริมย้ำความประกอบเรื่องไม่เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ถ้าตัดบทร้องออกก็ไม่ทำให้เนื้อเรื่องของละครขาดความสมบูรณ์เเต่อย่างใด คำว่า "ลำ" หมายถึง บทร้อยหรือเพลง
-
-
:red_flag:ละครร้อง
-
:star: ความเป็นมา
ละครร้องกำเนิดขึ้นในตอนปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5) ละครร้อง ได้ปรับปรุงขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากละครต่างประเทศ ละครร้องนั้นต้นกำเนิด มาจากจากแสดงของชาวมลายู เรียกว่า “บังสาวัน” ได้เคยเล่นถวายรัชกาลที่ 5 และต่อมาละครบังสาวันได้เข้ามาแสดงในกรุงเทพฯ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแก้ไขปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นที่โรงละครปรีดาลัย
-
:star:1.ละครร้องล้วนๆ
-
-
♡การแสดง
ตัวละครขับร้องโต้ตอบกัน และเล่าเรื่องเป็นทำนองแทนการพูดดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงล้วน ๆ ไม่มีบทพูดแทรก มีเพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาบถของตัวละคร จัดฉากตามท้องเรื่อง ใช้เทคนิคอุปกรณ์แสงสีเสียงเพื่อสร้างบรรยากาศให้สมจริง
-
-
:star:2.ละครร้องสลับพูด
♡ผู้แสดง
ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ยกเว้นตัวตลกหรือจำอวดที่เรียกว่า “ตลกตามพระ” ซึ่งใช้ผู้ชายแสดง มีบทเป็นผู้ช่วยพระเอกแสดงบทตลกบทตลกขบขันจริง ๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
-
♡เรื่องที่แสดง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เป็นผู้พระราชนิพนธ์บท และกำกับการแสดง เรื่องที่แสดงได้แก่ ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้วเจียระไน เครือณรงค์ กากี
-
♡การแสดง
มีทั้งบทร้อง และบทพูด ยึดถือการร้องเป็นส่วนสำคัญ บทพูดเจรจาสอดแทรกเข้ามาเพื่อทวนบทที่ตัวละครร้องออกมานั้นเอง แม้ตัดบทพูดออกทั้งหมดเหลือแต่บทร้องก็ยังได้เนื้อเรื่องสมบูรณ์ มีลูกคู่คอยร้องรับอยู่ในฉาก ยกเว้นแต่ตอนที่เป็นการเกริ่นเรื่องหรือดำเนินเรื่อง ลูกคู่จะเป็นผู้ร้องทั้งหมด ตัวละครจะทำท่าประกอบตามธรรมชาติมากที่สุดทรงเรียกว่า “ละครกำแบ”
-
-
-
:red_flag:ละครสังคีต
การแสดง♡
:tada::มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง ตัวละครจะต้องร้องเองคล้ายกับละครร้อง แต่ต่างกันที่ละครร้องดำเนินเรื่องด้วยบทร้อง การพูดเป็นเจรจาทวนบท ส่วนละครสังคีตมุ่งบทร้องและบทพูดเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่อง เป็นการแสดงหมู่ที่งดงาม ในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลกประกอบเสมอ และมุ่งไปในทางสนุกสนาน
-
การแต่งกาย♡
:tada::แต่งตามสมัยนิยม คำนึงถึงสภาพความเป็นจริงของฐานะตัวละครตามเนื้อเรื่อง และความงดงามของเครื่องแต่งกาย
-
-
เรื่องที่แสดง♡
:tada::นิยมแสดงบทพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มี 4 เรื่อง ได้แก่ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่ง ทรงเรียกว่า "ละครสลับลำ" เรื่องวิวาหพระสมุทร ทรงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำ" เรื่องมิกาโดและวั่งตี่ ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต"
-
-
-
:tada:ละครสังคีตเป็นละครอีกแบบหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มขึ้น โดยมีวิวัฒนาการมาจากละครพูดสลับลำ ต่างกันที่ละครสังคีตมีบทสำหรับพูด และบทสำหรับตัวละครร้องในการดำเนินเรื่องเท่าๆกัน จะตัดอย่างหนึ่งอย่างใดออกมิได้เพราะจะทำให้เสียเรื่อง
-
-
-