Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปงานนำเสนอกลุ่มที่ 2, นางสาววิไลวรรณ วารี 64121278034 …
สรุปงานนำเสนอกลุ่มที่ 2
การเป็นผู้ใฝ่รู้และมีวิสัยทัศน์
การเป็นผู้ใฝ่รู้
แหล่งเรียนรู้ของผู้บริหารมืออาชีพ
การเรียนรู้จากผู้อื่น
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้
หัวใจสำคัญของผู้ใฝ่รู้
สุ ย่อมาจากคำว่า สุตตะ แปลว่า การฟัง
จิ ย่อมาจากคำว่า จินตะ แปลว่า การคิด
ปุ ย่อมาจากคำว่า ปุจฉา แปลว่า การถาม
ลิ ย่อมาจากคำว่า ลิขิต แปลว่า การเขียน
วิสัยทัศน์
การสร้างวิสัยทัศน์
ขั้นนำวิสัยทัศน์ไปปฏิบัติ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นประเมินวิสัยทัศน์
ขั้นดำเนินการสร้างวิสัยทัศน์
คุณลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี
วิสัยทัศน์ต้องมีความชัดเจน (Clearity)
วิสัยทัศน์ต้องมีความท้าทาย (Challenge)
วิสัยทัศน์ต้องมีความกระชับ (Concise)
วิสัยทัศน์มีความมั่นคง (Stability)
มีในการดลใจ (Inspiring)
วิสัยทัศนมีลักษณะที่มุ่งสู่อนาคต (Future Orientation)
วิสัยทัศน์ต้องมีความครอบคลุม (Abstractness)
วิสัยทัศน์ หมายถึง การมองการณ์ไกล
หลักธรรมาภิบาล และความซื่อสัตย์สุจริต
ความหมาย
หมายถึง การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีเป็นแนวทาง สำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมรัฐภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชนซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการ และฝ่ายธุรกิจ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมีความรู้รักสามัคคีและร่วมกันเป็นพลัง ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
องค์ประกอบ
หลักนิติธรรม (The Rule of Law)
หลักคุณธรรม (Morality)
หลักความโปร่งใส (Accountability)
หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
หลักความรับผิดชอบ (Responsibility )
หลักความคุ้มค่า (Cost – effectiveness or Economy)
เป้าหมาย
เป็นหลักการพื้นฐานในการสร้างความเป็นธรรมในสังคม
ช่วยลดบรรเทาหรือแก้ปัญหาถึงแม้ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมีความรุนแรง
การสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นทุกระดับ
ช่วยลดปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง
เป็นแนวคิดที่เกื้อหนุนสังคมประชาธิปไตย
ช่วยให้ระบบบริหารของรัฐมีความยุติธรรม
แนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมทั้งภาครัฐภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชน
ความสำคัญ
บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องศรัทธาและเชื่อมั่นในองค์กรนั้นๆอันจะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผู้นำขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนนำหลักธรรมาภิบาลมาเป็นกรอบในการพัฒนาและวางแผนงาน เพื่อความอยู่รอดและเพื่อเกิดการยอมรับจากบุคคลภายนอกรวมทั้งเพื่อเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
สมรรถนะด้านการใช้เครื่องมือการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
การประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอ
ความถูกต้องน่าเชื่อถือ
ความเหมาะสม
ความยากง่ายในการเรียกใช้
ความน่าสนใจในการนำเสนอ
กระบวนการสืบค้นและการใช้เครื่องมือการเรียนรู้
การตั้งคำถาม (Questioning)
การวางแผน (Planning)
1.การสืบค้นข้อมูล (Searching)
การรวบรวมจัดระเบียบ (Gathering)
การเชื่อมโยงจัดโครงสร้าง (Sorting)
การสังเคราะห์สร้างสรรค์ (Synthesizing)
การประเมิน (Evaluation)
การนำเสนอรายงาน (Reporting)
การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน
ครูสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้หลายวิธี เช่นเดียว กับที่นักเรียนใช้ นอกจากนี้ยังใช้เพื่อติดต่อสื่อสารกับ เพื่อนครูและผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลก การค้นหาแหล่ง สื่อวัสดุ อุปกรณ์ แผนการสอนในวิชาที่ตนรับผิดชอบ รวมถึงการจัดทำ จัดสร้าง สื่อนวัตกรรม กิจกรรม การเรียนรู้สำหรับนักเรียนและเผยแพร่แก่ครูหรือบุคคลทั่วไป
ความหมาย
หมายถึง เครื่องมือการเรียนรู้ออนไลน์ แบบโปรแกรมแอพลิเคชั่นหรือเทคโนโลยีใดๆ ที่สามารถเข้าถึงได้ผ่าน การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซอฟต์แวร์และแพลตฟอร์มสำหรับการเรียนการสอนที่สามารถ ใช์กับคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟน
ประเภท
เครื่องมือพัฒนาเนื้อหา
เครื่องมือทรัพยากรบนเว็บไซต์
เครื่องมือการจัดการเรียนการสอน
เครื่องมือทางสังคม
เครื่องมือส่วนบุคคลและพัฒนางาน
นางสาววิไลวรรณ วารี 64121278034
สาขาบริหารการศึกษา แผน ก ห้อง 2