Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร …
หน่วยที่ 10 กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
10.1 สภาพทั่วไปของกลุ่มเป้าหมายและการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา
1 สังคมเกษตรกร
1.2 ผู้เช่าที่ดิน
1.3 เกษตรกรผู้เป็นลูกจ้างภาคเกษตร
1.1 มีที่ดินเป็นของตัวเอง
2 สังคมนอกภาคเกษตร
2.2 สังคมแรงงานอุตสาหกรรม
2.3 สังคมธุรกิจบริการบริการ
2.1 ชุมชนแออัด
2.4 สังคมนักธุรกิจผู้ประกอบการ
3 สังคมกลุ่มเยาวชนและนักเรียนนักศึกษา
สภาพสังคมละวัฒนธรรมโดยรวม
2 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมจากระบบชนชั้น
3 สภาพสังคมวัฒนธรรมปัจจุบัน
1 สภาพสังคมวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมของไทย
4 สภาพสังคมและวัฒนธรรมที่พึงปรารถนาเพื่อการพัฒนา
สภาพทางเศรษฐกิจ
2 องค์ประกอบของรายได้
3 ครอบครัวกลุ่มประชากรเป้าหมาย
3.1 ครอบครัวเกษตรกร
3.2 ครอบครัวนอกภาคเกษตร
3.2.1 ครอบครัวในแหล่งชุมชนแออัด
3.2.2 ครอบครัวผู้ประกอบการธุรกิจบริการ
1 รายได้ครัวเรือน
สภาพทางการเมืองการปกครอง 1 แนวความคิดด้านการกำหนดนโยบายทางการบริหาร
1.1 ความสามารถและศักยภาพของผู้นำทางการเมือง
1.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรประชาชน
1.2.2 ต้องสนับสนุนให้มีการร่วมกัน
1.2.3 พยายามกระจายอำนาจไปสู่ระดับท้องถิ่นให้มากที่สุด
1.2.1 ต้องมีหลักประกันที่แน่ชัดและมั่นคง
1.2.4 ต้องส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรประชาชน
2 รูปแบบการปกครองที่เกื้อหนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
3 แนวความคิดการกระจายอำนาจการปกครอง
4 บทบาทหน้าที่ของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น
5 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของภาครัฐในทางการเมืองการปกครอง
5.1 บทบาทในด้านการร่วมมือประสานงานกัน
5.2 บทบาทในด้านการใช้อำนาจกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6.สภาพการดำเนินงานขององค์กรภาครัฐในปัจจุบัน
10.1.2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย หลักมนุษยธรรมเพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
2 ทำให้ผู้อื่นเข้าใจตัวเราในทางที่ดี
3 เข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์
1 เข้าใจในบุคคลอื่นและเข้าใจในตนเอง
กิจกรรมมนุษยสัมพันธ์แบบชุมชนสัมพันธ์
2 การจัดตั้งชุมชนกลุ่มกิจกรรมเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น
3 จัดชมรมผู้นำชุมชน
4 จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เผยแพร่
1 การเยี่ยมครัวเรือนในชุมชนและดำเนินกิจกรรมในลักษณะร่วมคิดร่วมทำ
ปัญหาอุปสรรคการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
2 ปัญหาด้านการบริหารจัดการ
2.4 ขาดหลักการระบบและวิธีการ
2.5 การจัดตั้งการจัดการและการจัดกิจกรรมของสถาบันขาดคุณธรรมขาดระบบระเบียบที่ดี
2.3 ความต่อเนื่องผสมผสานของโครงการไม่ดีพอ
2.6 สถาบันทางการเมืองไร้ประสิทธิภาพ
2.2 ความไม่ต่อเนื่องของโครงการกิจกรรมทำทำหยุดหยุด
2.7 การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารภาคราชการขาดประสิทธิภาพ
2.1 การกำหนดนโยบายขาดความแน่นอนไม่ตรงตามความต้องการและปัญหาชุมชน
2.8 การกระจายอำนาจไปสู่กลุ่มเป้าหมายยังขาดประสิทธิภาพ
3 ปัญหาทางธรรมชาติและสภาพแวดล้อม
3.2 อุปสรรคทางธรรมชาติ
3.3 สิ่งแวดล้อมที่เสื่อมลงจนกลายเป็นมลภาวะ
3.1 ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
3.4 ความผันผวนทางธรรมชาติ
1 ปัญหาด้านบุคคล
1.4 วางเฉยไม่สนใจ
1.5 ไม่ควรขวายศึกษาหาความรู้
1.3 ขาดความเสียสละ
1.6 ไม่มีความรับผิดชอบ
1.2 เห็นแก่ตัว
1.7 เบื่อหน่ายท้อแท้
1.1 ถือยศถือชั้น
แนวทางการขจัดปัญหาอุปสรรคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
2 การศึกษาทำความเข้าใจผู้อื่น
3 การศึกษาทำความเข้าใจในสภาพแวดล้อม
1 การปรับปรุงตนเอง
4 การศึกษาหลักวิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์
หลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทางยุทธศาสตร์
2 หลักการสื่อสาร
3 หลักการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1 หลักการพัฒนาชุมชน
4 หลักการสร้างมโนธรรม
แนวทางการขจัดปัญหาอุปสรรคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
วิธีทางตรง
4 การศึกษาหลักวิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์
3 การศึกษาทำความเข้าใจในสภาพแวดล้อม
2 การศึกษาทำความเข้าใจผู้อื่น
1 การปรับปรุงตนเอง
3 วิธีการแทรกแซง
2 วิธีทางอ้อม
หลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทางยุทธศาสตร์
2 หลักการสื่อสาร
3 หลักการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1 หลักการพัฒนาชุมชน
4 หลักการสร้างมโนธรรม
วิธีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหนึ่งวิธีทางตรง
1.4 พบปะพูดคุยปรึกษาประชุมปรึกษาหารือเชิงสัมมนา
1.5 ประชุมชี้แจงกับกลุ่มผลประโยชน์
1.3 พบปะอภิปรายในกลุ่มย่อยๆแบบไม่เป็นทางการ
1.6 เจรจาต่อรอง
1.2 รณรงค์ในกลุ่มเพื่อนบ้าน
1.7 แนะนำทำให้ดูเป็นตัวอย่าง
1.1 พูดคุยตัวต่อตัว
10.2 แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาชุมชน
10.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและการศึกษาชุมชนแนวคิดชุมชน
2 แนวคิดการมองชุมชนแบบองค์รวม
การแยกชุมชนเกษตรกรรมจะพิจารณาได้จาก
2 การจัดระเบียบการใช้ที่ดิน
3 แบบแผนการผลิต
1 การประกอบอาชีพและกิจกรรมการผลิต
ความหมายของการศึกษาชุมชน
หมายถึงกระบวนการศึกษาเกี่ยวกับชุมชนในด้านต่างๆทางด้านกายภาพชีวภาพเศรษฐกิจการเมืองสังคมและวัฒนธรรมอย่างรอบด้านและเป็นองค์รวมเพื่อนำไปสู่การแสวงหาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือการกำหนดแนวทางในการส่งเสริมการเกษตรหรือการพัฒนาชุมชนรวมถึงการวางแผนส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชุมชนนั้นๆได้อย่างเหมาะสม
1 ปรากฏการณ์ชุมชน
1.1 ประชากร
1.2 ขอบเขตทางภูมิศาสตร์
1.3 การจัดระเบียบทางสังคม
1.3.2 ชุมชนเป็นระบบสังคม
1.3.3 เป็นเครือข่ายของการปฏิสัมพันธ์
1.3.1 ชุมชนเป็นกลุ่มทางสังคม
1.3.4 เป็นหน่วยทางจิตวัฒนธรรม
ความสำคัญของการศึกษาชุมชน
3 ทำให้คนในชุมชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันถึงสถานการณ์ของชุมชน
4 เป็นกระบวนการวิจัยที่จะสร้างความเข้าใจอันดีร่วมกันระหว่างฝ่ายต่างๆ
2 เพื่อให้การทำงานของนักส่งเสริมการเกษตรและการดำเนินงานพัฒนาชุมชนเกษตรมีเป้าหมายที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน
5 ทำให้ทุกฝ่ายทั้งในชุมชนและนอกชุมชน ตื่นตัวและสนใจการพัฒนาชุมชนเกษตรอย่างจริงจัง
1 ช่วยให้นักส่งเสริมเข้าใจถึงระบบคิดของเกษตรกรและเข้าใจวิถีชุมชน
แนวคิดการศึกษาชุมชน
2.การศึกษาชุมชนแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
2.1 ข้อสมมติฐานเบื้องต้น
2.1.2 อรรถประโยชน์เพิ่มและกลไกราคา
2.1.3 การตลาด
2.1.1 การผลิตและการบริโภค
2.2 แนวคิดหลักในการศึกษาชุมชนแนวเศรษฐศาสตร์
2.2.2 ระบบการแลกเปลี่ยนของชุมชน
2.2.3 ระบบการตลาดของชุมชน
2.2.1 ระบบการผลิตของชุมชน
2.2.4 ระบบเศรษฐกิจของชุมชน
3 การศึกษาชุมชนตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเกษตร
3.1 ข้อสมมติฐานเบื้องต้น
3.1.1 ขอบเขตระดับนิเวศ
3.1.2 สมดุลในระบบนิเวศ
3.2 แนวคิดหลักในการศึกษาชุมชนตามแนวนิเวศวิทยาเกษตร
3.2.1 รูปแบบระบบกายภาพและชีวภาพของชุมชน
3.2.2 รูปแบบระบบเกษตรกรรมของชุมชน
1 การศึกษาตามแนวคิดทางสังคมวิทยา
1.2 ชุมชนในฐานะเป็นตัวแปรอิสระ
1.2.2 การกระทำของชุมชน
1.2.3 ความแตกต่างทางวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต
1.2.1 ประเภทชนิดของชุมชน
1.2.4 ปัญหาสังคม
1.3 การศึกษาชุมชนตามแนวคิดทางกลุ่มทฤษฎีสังคมวิทยา
1.3.2 การศึกษาชุมชนแนวคิดระบบสังคม
1.3.3 การศึกษาชุมชนตามแนวคิด functionalism
1.3.1 การศึกษาชุมชนแนวคิดนิเวศวิทยามนุษย์
1.3.4 ตามแนวคิดการกระทำของชุมชน
1.1 ชุมชนในฐานะเป็นตัวแปรตาม
1.1.3 การล่มสลายของชุมชน
1.1.2 การเจริญเติบโตของชุมชน
1.1.1 การดำรงอยู่ของชุมชนหรือความยั่งยืน
10.2.2 หลักการขอบเขตวัตถุประสงค์และประเภทของการศึกษาชุมชนหลักการในการศึกษาชุมชน
ปรากฏการณ์ทางสังคม
2 ปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นปรากฏการณ์ที่มีความสลับซับซ้อน
3 ความหมายของปรากฏการณ์ในสังคมหนึ่งจะถูกกำหนดขึ้นและเป็นความหมายที่เข้าใจกันในกลุ่มคนซึ่งอยู่ในสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมเดียวกัน
1 ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
4 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม
ขอบเขตของการศึกษาชุมชน
2 ลักษณะของระบบเศรษฐกิจของสังคมหมู่บ้าน
3 ลักษณะโครงสร้างทางสังคมโครงสร้างอำนาจองค์กรชาวบ้าน
1 ความสัมพันธ์ของสังคมหมู่บ้านที่เชื่อมโยงกับระบบการเมืองการปกครอง
4 ลักษณะของวัฒนธรรมความคิดและจิตสำนึกของสมาชิกชุมชน
แนวทางที่สำคัญในการศึกษาชุมชน
2 วิเคราะห์ในเชิงโครงสร้าง
3 วิเคราะห์ปัญหาพร้อมกับสำรวจความสามารถและศักยภาพทั้งหมดในการแก้ไขปัญหา
1 มิติทางด้านประวัติศาสตร์
4 วิเคราะห์กลไกเงื่อนไขที่เสริมสร้างสืบทอดหรือทำลายเหตุการณ์นั้นๆ
องค์ประกอบสำคัญในการวิเคราะห์ชุมชน
1 โครงสร้างสังคม
2 สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ
3 กลไกหรือวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน
2 ทราบรูปแบบความเปลี่ยนแปลงของชุมชนที่ส่งผลต่อความต้องการผลผลิตและนวัตกรรมทางการเกษตร
3 ทราบปัญหาของชุมชนและแนวทางในการแก้ปัญหานั้น
1 ทราบคุณลักษณะและประเภทของชุมชน
4 เพื่อวางแผนพัฒนาการเกษตรชุมชน
ประเภทของการศึกษาชุมชน
3 ตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.3 แบบเอกสาร
3.2 แบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
3.1 แบบสำรวจ
3.4 แบบอื่นๆ
4 ตามวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 ศึกษาแบบปริมาณ
4.2 แบบคุณภาพ
2 ตามเนื้อหาของข้อมูลที่จะนำไปใช้
2.2 แบบข้อมูลเฉพาะหรือข้อมูลคร่าวคร่าว
2.1 แบบข้อมูลโดยละเอียด
5 ตามจำนวนผู้กระทำการศึกษา
5.1 แบบกระทำการศึกษาคนเดียว
5.2 แบบกระทำเป็นกลุ่ม
1 ตามวัตถุประสงค์ของการนำความรู้ไปใช้
1.1 การศึกษาชุมชนแบบหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
1.2 การศึกษาชุมชนแบบทดสอบความรู้เดิม
1.3 การศึกษาชุมชนแบบนำความรู้ไปใช้ในงานพัฒนา
6 ตามทัศนะของผู้ศึกษา
6.1 โดยบุคคลภายนอกชุมชน
6.2 โดยบุคคลภายในชุมชน
7 ตามกลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการศึกษา
7.2 โดยชาวบ้านร่วมกับนักพัฒนา
7.3 โดยนักพัฒนา
7.1 โดยชาวบ้าน
10.3 กระบวนการศึกษาวิเคราะห์และวินิจฉัยชุมชน
10.3.1 กระบวนการศึกษาชุมชน
แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการศึกษาชุมชน
3 การทดสอบสมมติฐาน
4 การสรุปผลเป็นกฎและทฤษฎี
1 การสังเกตปรากฏการณ์
2 การตั้งสมมติฐาน
ขั้นตอนในกระบวนการศึกษาชุมชน
1 กำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน
3 ประโยชน์ของการศึกษาชุมชน
2 วัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน
1 ความเป็นมาของการศึกษาชุมชน
2 ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีชุมชนเพื่อประกอบการศึกษาชุมชน
2 กำหนดตัวแปรสำคัญที่ใช้ในการศึกษาชุมชน
3 กำหนดสมมติฐานของการศึกษาชุมชน
1 ศึกษาแนวความคิดและทฤษฎีต่างๆ
4 กำหนดข้อมูลที่จะใช้ในการศึกษาชุมชน
3 การกำหนดชุมชนที่จะศึกษา
1 ชุมชนที่จะศึกษานั้นเป็นตัวแปรอิสระ
2 ชุมชนที่จะศึกษานั้นเป็นตัวแปรตาม
4 การเตรียมทีมงานและเตรียมความพร้อมของชุมชน
1 การเตรียมทีมงานของบุคคลภายนอกชุมชน
2 การเตรียมทีมงานภายในชุมชนและความพร้อมของชุมชน ขั้นตอนในการเตรียมชุมชน
2 ทบทวนแนวทางการศึกษาในชุมชน
3 ประชุมวางแผน
1 เข้าพื้นที่เบื้องต้น
5 การกำหนดวิธีการและแผนการศึกษาชุมชน
6 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ
7 การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลภาคสนาม 1 เริ่มต้นรวบรวมข้อมูลระดับกลุ่มและชุมชน 2 รวบรวมข้อมูลระดับครัวเรือน
8 ประมวลผลข้อมูลการตรวจสอบและวิเคราะห์เบื้องต้น 1 การทบทวนข้อมูลรายวัน 2 การตรวจสอบข้อมูล 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
9 การวินิจฉัยชุมชนและจัดลำดับความสำคัญ
10 การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาชุมชน
11 การจัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน
10.3.2 กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน
4 บทบาทหญิงชายเพื่อวางแผนการพัฒนา
5 ทางสังคม
3 หาความจำเป็นพื้นฐานของชุมชน
7 การใช้เทคโนโลยีและแพร่กระจายนวัตกรรมทางการเกษตร
2 การวิเคราะห์การรับจ่าย
6 ทางเศรษฐกิจของชุมชน
1 การวิเคราะห์ระบบการเกษตร
10.3.3 กระบวนการวินิจฉัยชุมชน
ลักษณะ
1 โดยคนในชุมชนเอง
2 โดยบุคคลภายนอกที่เป็นแรงเสริมและสนับสนุนประชาชน
ขั้นตอนในกระบวนการวินิจฉัยชุมชน
2 วินิจฉัยสาเหตุของปัญหาและความต้องการของชุมชน
3 วินิจฉัยแนวทางในการแก้ไขปัญหาและความต้องการของชุมชน
1 ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
4 วินิจฉัยความสามารถในการแก้ไขปัญหาและความต้องการของชุมชน
วิธีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ
1 การเลือกหัวข้อปัญหาโดยพิจารณาตามตัวชี้วัดการประเมิน
1.2 การประเมินโดยการให้คะแนน
1.3 การประเมินโดยเปรียบเทียบความสำคัญของปัญหาทีละคู่
1.1 การประเมินโดยใช้สัญลักษณ์
2 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
2.2 การใช้แผนผังความสัมพันธ์
2.3 การใช้แผนผังต้นไม้ปัญหา
2.1 การใช้แผนผังก้างปลา
10.4 การศึกษาชุมชนกับงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
10.4.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการประยุกต์ผลการศึกษาชุมชน
1 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
1.2 ด้านระบบวิธีการทำงาน
1.3 ด้านบุคลากร
1.1 ด้านการพัฒนาแนวคิด
1.4 ด้านการเสริมหนุนจากภายนอก
2 ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค
2.1 ไม่ให้ความสำคัญกับแผนพัฒนาของภาคี
2.4 ระยะเวลาการทำงานไม่เหมาะสม
2.5 เกิดความไม่มั่นใจของสมาชิก
2.3 การพัฒนาเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายกลุ่ม
2.2 การเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบพื้นที่รับผิดชอบงาน
2.6 ขัดแย้งในผลประโยชน์
การประยุกต์ผลการศึกษาชุมชนในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
6 การสร้างปฏิสัมพันธ์อันดีกับเกษตรกรและชุมชน
7 การวางแผนพัฒนากลุ่มองค์กรชุมชน
5 การเป็นเครื่องมือในการที่บุคคลภายนอกและกลุ่มบุคคลในชุมชนที่จะทำการศึกษาชุมชนร่วมกัน
8 การพัฒนาในระดับปฏิบัติการของหน่วยงานต่างๆ
4 การกำหนดกลุ่มบุคคลเป้าหมาย
9 การกำหนดวิธีการ เนื้อหาและสื่อ
3 การแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่
10 การนำไปพัฒนางานศึกษาวิจัยที่ต่อเนื่อง
2 การวางแผนพัฒนากลุ่มองค์กร
11 การพัฒนานโยบาย
1 การนำไปเป็นข้อมูลของหน่วยงานในการวางแผนการพัฒนาชุมชน
10.4.2 การใช้ประโยชน์จากการศึกษาชุมชนในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ประโยชน์ในระหว่างกระบวนการศึกษาชุมชน
1 ทำให้สมาชิกและทุกภาคส่วนเกิดการพัฒนาตนเอง
4 เป็นเครื่องมือในการรู้จักตนและในการพัฒนา
5 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
3 ทำให้เห็นศักยภาพของคน
6 เกิดการพัฒนาอย่างรอบด้านทุกมิติสมดุล
2 เกิดการปรับความคิดทัศนคติ
ประโยชน์จากการศึกษาชุมชนระดับต่างๆ
2 การใช้ประโยชน์ในระดับท้องถิ่น
3 การใช้ประโยชน์ในระดับปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่
1 การใช้ประโยชน์ในระดับชุมชน
4 การใช้ประโยชน์ในระดับนโยบาย
10.4.3 ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาชุมชนในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ปัญหาการดำเนินงานแบบสหวิทยาการ
1.1 ความไม่พอเพียงของเจ้าหน้าที่แต่ละสาขา
1.2 การบูรณาการแต่ละสาขา
1.2.2 กันไม่ไว้วางใจในการทำงานร่วมกัน
1.2.3 การมีทัศนคติการเรียกร้องการอุดหนุน
1.2.4 การมีหน่วยงานที่ถือว่าตนเองเป็นศูนย์กลาง
1.2.5 การทำงานแยกส่วนของสาขาวิชา
1.2.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
2 การมองต่างมุมทางทฤษฎีส่งเสริมการเกษตรระหว่างแนวให้การศึกษากับแนวสังคมวิทยาและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
2.1 การอธิบายปรากฏการณ์ยอมรับของเกษตรกร
2.1.1 แนวให้การศึกษา
2.1.2 แนวสังคมวิทยาและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
2.2 ตัวแปรหลักในการศึกษาและวิเคราะห์
2.2.2 แนวสังคมวิทยาและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
2.2.1 แนวให้การศึกษา