Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร
ความหมายของหลักสูตร
-
-
-
-
ทางวิ่ง หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่งขัน เมื่อนำคำว่า “หลักสูตร” มาใช้ในทางการศึกษาจึงมีความหมายแตกต่างกัน
-
ความสำคัญของหลักสูตร
เป็นคู่มือของผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาทุกระดับเพื่อใช้ในการติดตาม ประเมินคุณภาพผลผลิตทางการศึกษา
-
หลักสูตรมีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาในทุกระดับ เพราะหลักสูตรเป็นแผนที่กำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดประสบการณ์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาในทุกๆ ด้าน
เนื่องจากการมีหลักสูตรที่ดี มีความเหมาะสมนั้น ย่อมสามารถพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของคนในสังคมหรือประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่
องค์ประกอบของหลักสูตร
- จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หมายถึง ความต้องการหรือความคาดหวังที่หลักสูตรต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา
- การนำหลักสูตรไปใช้ หมายถึง การแปลงหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ นั่นคือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่หลักสูตรกำหนด
- การวัดและประเมินผล หมายถึง การติดตาม ตรวจสอบ และตัดสินว่าผู้เรียนมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรต้องการหรือไม่ เมื่อเรียนจบหลักสูตรนั้น ๆ ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การปรับปรุงหลักสูตร
- เนื้อหาสาระ หมายถึง สาระการเรียนรู้ วิชาความรู้ รวมทั้งประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ไปตามลำดับขั้นตอน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถตามจุดมุ่งหมายที่หลักสูตรกำหนดไว้
ประเภทของหลักสูตร
- หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (SOCIAL PROCESS AND LIFE FUNCTIONS CURRICULUM)
- หลักสูตรแบบแกน (CORE CURRICULUM)
- หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ (ACTIVITY OR EXPERIENCE CURRICULUM)
- หลักสูตรแบบบูรณาการ (INTEGRATED CURRICULUM)
- หลักสูตรยึดมาตรฐาน (STANDARD-BASED CURRICULUM)
- หลักสูตรสหสัมพันธ์ (BROAD FIELDS CURRICULUM)
- หลักสูตรเนื้อหาวิชา (THE SUBJECT MATTER CURRICULUM)
สรุปประเภทของหลักสูตร
สรุปได้ว่าหลักสูตรสามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ หลักสูตรที่ยึดเนื้อหาเป็นสำคัญ (Content-based Curriculum) และหลักสูตรที่ยึดกิจกรรมเป็นสำคัญ (Activity-based Curriculum) ซึ่งหลักสูตรทั้ง 2 ประเภทนี้ มีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยหลักสูตรที่ยึดเนื้อหาเป็นสำคัญ จะใช้แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ยึดครูเป็นสำคัญ (Teacher-centered) ส่วนหลักสูตรที่ยึดกิจกรรมเป็นสำคัญ จะใช้วิธีการเรียนการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ (Child-centered)