Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Premature rupture of membranes: PROM และ Preterm premature rupture of…
Premature rupture of membranes: PROM และ Preterm premature rupture of membranes: PPROM
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm Labor)
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post term)
-
น้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์(Premature Rupture of membranes : PROM)เเละ
Preterm premature rupture of membranes: PPROM
สาเหตุ
1.การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (chorioamionitis)
2.รกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ การบาดเจ็บหรือการฉีกขาดที่ปากมดลูก
3.การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
4.ปากมดลูกปิด ไม่สนิท (Cervical imcompetent)
5.ขาด Vit. C ทำให้ถุงน้ำคร่ำไม่แข็งแรง
6.ส่วนนำของทารกผิดปกติ (malpresentation)
- มีประวัติการทำแท้งมาก่อน (Abortion)
8.สุบบุหรี่ และดื่มเหล้าเป็นประจำ
การวินิจฉัย
สามารถวินิจฉัยได้จาก การรักประวัติ ตรจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้
1.การซักประวัติจากอาการและอาการแสดง : พบว่ามีน้ำไหลออกจากช่องคลอดช้าๆ(น้ำเดิน/น้ำใส ไหลออกทางช่องคลอด)
- Speculum exam
-มีน้ำขังอยู่ในแอ่งช่องคลอด (Posterior formix) เมื่อให้ผู้คลอดไอหรือเบ่งหรือกดยอดมดลูก อาจพบมีน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลุก
-ถ้าปากมดลูกเปิดแล้วจะพบส่วนนำของทารกไม่มีถุงน้ำคร่ำหุ้มแล้ว
- Nitrazine paper test
นำกระดาษ nitrazine สัมผัสกับน้ำในช่องคลอดจะมีการเปลี่ยนสี น้ำในช่องคลอดของหญิงตั้งครรภ์จะบินกรดมีคำา pH อยู่ระหว่าง 4 5 - 6.0 ไม่เปลี่ยนสีของกระดาษที่เป็นสีเหลือง ส่วนน้ำคร่ำเป็นต่างมีค่า pH ซึ่งจะเปลี่ยนสีกระดาษเป็นสีน้ำเงิน
- Fern testนำน้ำในช่องคลอดไปป้ายบนแผ่นสไลด์ทิ้งไว้ให้แห้ง ในน้ำคร่ำมี electrolyteโดยเฉพาะ NaCl เมื่อแห้งจะจับตัวเป็นผลิกรูปใบเฟิร์น (Arbrization) มองเห็นได้เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
ผลกระทบต่อมารดา
1.การติดเชื้อ โดยเฉพาะการติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ(chorioamnioitis)
2.การคลอดก่อนครบกำหนด
3.ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน ทำให้เกิดการคลอดแห้ง (Dry labour)
ผลกระทบต่อทารก
1.การติดเชื้อ จากถุงน้ำคร่ำแตกเป็นระยะเวลานาน
2.ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory Distress Syndrome : RDS)ถ้าทารกคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
3.ภาวะขาดออกซิเจน (Fetal distress) จากภาวะสายสะดือถูกกดทับจากการที่น้ำคร่ำ
4.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ได้ (IUGR)
การรักษา
1.ประเมินตรวจหาอายุครรภ์ที่แน่นอน โดยการซักประวัติ การตรวจครรภ์ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อดูขนาดของ biparietal diameter ตลอดจนการทำ amniocentesis เพื่อทดสอบความสมบูรณ์ของปอด -ถ้าพบว่า Lecithin Sphingomyelin (L : S ratio) ได้มากกว่า 2 : 1 แสดงว่าปอดของทารกน่าจะสมบูรณ์ดี
-การทำ Shake test ให้ผลบวกตั้งแต่หลอดที่ 3 เป็นต้นไป ก็แสดงว่าปอดของทารกน่าจะสมบูรณ์ดีเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อพิจารณาในการตัดสินใจให้คลอด
- การประบประคองการตั้งครรภ์ให้ดำเนินต่อไปจนถึงครบกำหนดคลอด
-โดยงดการตรจภายใน(PV) ใส่ผ้าอนามัยไว้และเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรืออาจให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
-ให้หญิงตั้งครรภ์นอนพักให้มากที่สุด
3.กรณีอายุครรภ์ระหว่าง 34 - 36 สัปดาห์ ควรทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
-โดยงดการตรจภายใน(PV) ใส่ผ้าอนามัยไว้และเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรืออาจให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
-ให้หญิงตั้งครรภ์นอนพักให้มากที่สุด
4.กรณีมีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis) จะพิจารณาให้คลอดทันที
-โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์ ทั้งนี้จะให้ยาปฏิชีนะที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดพิสูจน์ได้ว่ามีการติดเชื้อขอยฤงน้ำครำ และจะต้องรีบให้ทารกคลอดเร็วที่สุด
ถุงน้ำคร่ำ (Amniotic sac จะมีของเหลวที่เรียกว่า น้ำคร่ำ (Amniotic fuid) อยู่ข้างในลักษณะถุงคล้ายลูกโป่งใส่น้ำ และมีทารกอยู่ในถุงลูกโปง ถุงน้ำคร่ำทำหน้าที่ห่อหุ้มทารกในครรภ์ไม่ให้ได้รับอันตรายจากการกระทบกระแทก ป้องกันไม่ให้สายสะดือถูกกดทับ ในภาวะปกติถุงน้ำคร่ำจะแตกเมื่อใกล้จะคลอดหลังจากมีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว ดังนั้นการที่มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนที่มีอาการเจ็บครรภ์จริง (เจ็บครรภ์สม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 10 นาทีและมีการเปิดขยายของปากมดลูก) และอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ37สัปดาห์ จึงเรียกว่า ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด (Premature rupture of membranes: PROM)
เรียกสั้นๆ ว่า "มีน้ำเดิน"
แต่หากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ในอายุครรภ์ที่น้อยกว่า 37 สัปดาห์ เรียกกว่า ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm premature rupture of membranes: PPROM)
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (preterm labour)
หมายถึง ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก โดยมีการเพิ่มขยายของปากมดลูกมากกว่าเซนติเมตร หรือปากมดลูกมีความบางตัวตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
- อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
- เศรษฐานะต่ำ
- ครรภ์แรก
- ภาวะทุพโภชนาการ
- สูบบุหรี่และสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน เป็นต้น
- ทำงานหนัก
- ภาวะเครียด
- ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม เช่น มีประวัติคลอดทารกก่อนกำหนดในครอบครัว เป็นต้น
9.เคยมีประวัติเลือดออกในระหว่างการตั้งครรภ์ในอดีต
10.ภาวะครรภ์แฝด
-
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคาม (threatened preterm labour)หมายถึง ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 10 นาที โดยใช้เวลาตรวจอย่างน้อย 30 นาที แต่ยังไม่พบการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกภาวะเจ็บครรภ์เตือน (false labour pain)หมายถึง อาการเจ็บครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ โดยลักษณะการเจ็บครรภ์ไม่สม่ำเสมอทั้งความแรงและความถี่ และไม่มีอาการเจ็บครรภ์เมื่อนอนพัก
การรักษา
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์ แพทย์จะไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดและไม่ให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ เรียกว่า ภาวะแท้งกรณีอายุครรภ์ระหว่าง 24-34 สัปดาห์
- รับไว้ในโรงพยาบาล
- ให้นอนพักบนเตียง
- ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
- ตรวจหาสาเหตุ ตรวจนับเม็ดเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อค้นหาความพิการของทารกและน้ำหนักตัวโดยประมาณ
-ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดหรือการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา Nifedipine Indomethacin และลำดับรองลงมาคือ Terbutaline ในกรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณน้ำคร่ำมากจะยับยั้งด้วย Indomethaci พร้อมกับตรวจติดตามductus arteriosus เป็นระยะ ๆ ถ้ายับยั้งด้วยยาตัวแรกไม่ได้ผล แพทย์อาจเลือกใช้ยาตัวต่อไป
-