Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีกํารเรียนรู้แนวพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) - Coggle Diagram
ทฤษฎีกํารเรียนรู้แนวพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
คือ การเรียนรู้คือการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า(Stimulus)กับการตอบสนอง(Response) และมีตัวเสริมแรง(Reinforce) เป็นสิ่งกระตุ้นหรือจูงใจ
กลุ่มทฤษฎีกํารเรียนรู้แนวพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายนอกหรือกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มีดังนี้
มี 3 กลุ่ม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (Skinner’s Operant Conditioning Theory)
ควรจะให้แรงเสริมในพฤติกรรมที่แสดงว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วโดยตอนแรกๆควรจะให้แรงเสริมทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงปรารถนา ต่อมาจึงค่อยใช้แรงเสริมเป็นครั้งคราวและจะต้องระวังมาให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification)
2.การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างโดยใช้วิธีที่เรียกว่า การดัดหรือการตบแต่งพฤติกรรม
3.การลดพฤติกรรม เป็นการลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา ซึ่งจะใช้วิธีการลงโทษ
1.การเพิ่มพฤติกรรมหรือคงพฤติกรรมเดิมที่เหมาะสมไว้
การปรับพฤติกรรม คือ ทำการปรับพฤติกรรมของบุคคล หลักการนี้อาจจะใช้ทั้งการเสริมแรงทางบวกและการเสริมแรงทางลบประกอบกัน
สรุป
สรุปทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทะของสกินเนอร์เป็นหลักการที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ด้วยการให้สิ่งเร้าที่เป็นตัวเสริมแรง หลังจากที่ได้มีการกระทำตามเงื่อนไขแล้ว การเสริมแรงทุกครั้งจะมีส่วนช่วยทำให้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆของอินทรีย์มีอันตราการตอบสนองที่เข้มข้นขึ้น
บทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนแบบโปรแกรม (Program Learning) จากหลักการให้แรงเสริมของสกินเนอร์ที่ว่า เมื่อผู้เรียนทำถูกจะได้รางวัลทันที
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
พยายามช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน และการทำงาน
ควรสอนเมื่อผู้เรียนมีความพร้อม
การสอนควรเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปสิ่งที่ยาก
การสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรียน
ควรให้ผู้เรียนได้มีการฝึกหัด
การสอนในชั้นเรียนควรกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชั้นเจน
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงเป็นการเน้นสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองทั้งนี้เพราะการเรียนรู้เป็นการแก้ปัญหา เมื่อผู้เรียนพบปัญหาเขาจะมีปฏิกิริยาแบบเดาสุ่มซึ่งเป็นการลองผิดลองถูก ผู้เรียนจะลองทำหลายวิธี จนกระทั่งประสบความสำเร็จในที่สุด โดยที่ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงสิ่งเร้าหรือปัญหาด้วยการตอบสนองที่เหมาะสมได้
ในบางสถานการณ์ ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning)
กระบวนการสำคัญอันเกิดจากการเรียนรู้ของพาฟลอฟ กระบวนการที่สำคัญ 3 ประการ อันเป็นผลจากการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
การจำแนก คือ ความสามารถของอินทรีย์ในการที่จะจำแนกความแตกต่างของสิ่งเร้าได้
การลบพฤติกรรม (Extinction) เป็นการงดสิ่งเสริมแรงจนในที่สุดพฤติกรรมที่เคยปรากฏจะไม่ปรากฏอีก กล่าวคือ ถ้าผู้ทดลองดำเนินการไปเรื่อยๆในขั้นสุดท้าย ถ้าผู้ทดลองให้เสียงกระดิ่ง (CS) โดยไม่ให้ผงเนื้อ (UCS) ตามมา จะทำให้ปฏิกิริยาน้ำลายไหล (CR) ลดลงเรื่อยๆ จนในที่สุดจะไม่เกิดการตอบสนองเลย
การแผ่ขยาย คือ ความสามารถของอินทรีย์ที่จะตอบสนองในลักษณะเดิมต่อสิ่งเร้าที่มีความคล้ายคลึงกันได้
สรุป
การฟื้นคืนสภาพการตอบสนองจากการวางเงื่อนไข คือการฟื้นคือสิ่งเร้า
การลบพฤติกรรมชั่วคราว คือ ให้ห่างออกจากสิ่งเร้า
การจำแนกความแตกต่าง คือ สิ่งที่ต่างกับสิ่งเร้า
การสรุปความเหมือน คือ สิ่งที่เหมือนกับสิ่งเร้า