Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูบริคการให้คะแนน (Rubrics or Scoring Rubrics) - Coggle Diagram
รูบริคการให้คะแนน
(Rubrics or Scoring Rubrics)
ความหมาย
เป็นเครื่องมือให้คะแนนชนิดหนึ่ง ใช้ในการประเมินการปฏิบัติงานหรือผลงานของนักเรียน
ประกอบด้วย 2 ส่วน
เกณฑ์ที่ใช้ประเมินการปฏิบัติงานหรือผลผลิตของนักเรียน
ระดับคุณภาพหรือระดับคะแนน
ข้อดีของการใช้รูบริค
ผู้สอนสามารถเพิ่มคุณภาพการสอนได้โดยตรง
โดยมีเป้าหมาย จุดเน้น และความตั้งใจที่รายละเอียดเฉพาะ
นักเรียนมีแนวทางที่ชัดเจนตามความคาดหวังของครู
นักเรียนใช้รูบริคเป็นเครื่องมือพัฒนาความสามาารถของตน
ครูนำรูบริคไปใช้ซ้ำได้อีกกิจกรรมอื่นๆ
รูบริคมี 2 ชนิด
แบบภาพรวม
ให้คะแนนโดยดูภาพรวมของกระบวนการหรือผลงานไม่แยกพิจารณาเป็นส่วนๆ
แบบแยกส่วน
ให้คะแนนแยกทีละส่วนหรือทีละองค์ แล้วรวมคะแนนแต่ละส่วนเข้าด้วยกันเป็นคะแนนรวม
ตัวอย่าง
กิจกรรมการเรียนรู้
แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลงานในหัวข้อเรื่อง "วันลอยกระทงสร้างขยะ หรือ อนุรักษ์วัฒนธรรม"
จุดประสงค์
อธิบายความเป็นมาของวันลอยกระทงได้ (K)
นักเรียนสามารถยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของวันลอยกระทงได้ (P)
บอกความหมายความสำคัญ ของวันลอยกระทงได้ (K)
นักเรียนเห็นคุณค่า ความสำคัญของประเพณีลอยกระทง (A)
ประเด็นการประเมิน
ภาพประกอบ
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับ 4 คะแนน
1.สีสันสวยงาม
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ภาพมีขนาดเหมาะสม
องค์ประกอบเหมาะสม
ระดับ 3 คะแนน
1.สีสันสวยงาม
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ภาพมีขนาดเหมาะสม
องค์ประกอบไม่ครบ
ระดับ 2 คะแนน
1.สีสันสวยงาม
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ภาพมีขนาดไม่เหมาะสม
องค์ประกอบไม่ครบ
ระดับ 1 คะแนน
1.สีสันสวยงาม
ไม่มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ภาพมีขนาดไม่เหมาะสม
องค์ประกอบไม่ครบ
กลวิธ๊นำเสนอ
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับ 3 คะแนน
มีการนำข้าสู่เนื้อเรื่อง
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
มีความเร้าใจชวนติดตามน้อย
มีความมั่นใจในการนำเสนอ
ระดับ 1 คะแนน
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง
ไม่มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ไม่เร้าใจชวนติดตาม
ไม่มีความมั่นใจในการนำเสนอ
ระดับ 4 คะแนน
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
เร้าใจชวนติดตาม
มีความมั่นใจในการนำเสนอ
ระดับ 2 คะแนน
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง
มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
ไม่เร้าใจชวนติดตาม
ไม่มีความมั่นใจในการนำเสนอ
เนื้อหา
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับ 4 คะแนน
มีการเรียงลำดับเนื้อหาเหมาะสม
เนื้อหามีความต่อเนื่อง
เนื้อหาสาระมีประโยชน์
ให้แง่คิด
ระดับ 3 คะแนน
มีการเรียงลำดับเนื้อหาเหมาะสม
เนื้อหามีความต่อเนื่อง
เนื้อหาสาระมีประโยชน์
ให้แง่คิดน้อย
ระดับ 2 คะแนน
มีการเรียงลำดับเนื้อหาเหมาะสม
เนื้อหามีความต่อเนื่อง
เนื้อหาสาระมีประโยชน์น้อย
ให้แง่คิดน้อย
ระดับ 1 คะแนน
มีการเรียงลำดับเนื้อหาเหมาะสม
เนื้อหาไม่มีความต่อเนื่อง
เนื้อหาสาระมีประโยชน์น้อย
ไม่ให้แง่คิด
เวลาที่ใช้ในการนำเสนอ
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับ 3 คะแนน
ใช้เวลามาก / น้อย จากที่กำหนดไม่เกิน 2 นาที
ระดับ 2 คะแนน
ใช้เวลามาก / น้อย จากที่กำหนดไม่เกิน 5 นาที
ระดับ 4 คะแนน
พูดจบเนื้อหาภายใน เวลาที่กำหนด
ระดับ 1 คะแนน
ใช้เวลามาก / น้อย จากที่กำหนดมากกว่า 5 นาที
ภาษา
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ระดับ 4 คะแนน
ใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ใช้ภาษาได้เหมาะสม
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย ๆ
ระดับ 3 คะแนน
ใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ใช้ภาษาได้เหมาะสม
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
ระดับ 2 คะแนน
ใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ใช้ภาษาได้เหมาะสม
ใช้ภาษาเข้าใจยาก
ระดับ 1 คะแนน
ใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ใช้ภาษาไม่เหมาะสม
ใช้ภาษาไม่เข้าใจ
ขั้นตอนการออกแบบรูบริค
ขั้นที่ 4
สำหรับรูบริคแบบภาพรวม
เขียนคำบรรยายลักษณะงานที่ดีและงานที่ไม่ดี โดยรวมทุกเกณฑ์เข้าด้วยกันเป็นข้อความ
สำหรับรูบริคแบบแยกส่วน
เขียนคำบรรยายลักษณะงานที่ดีและงานที่ไม่ดี โดยแยกต่างหากแต่ละเกณฑ์
ขั้นที่ 5
สำหรับรูบริคภาพรวม
เขียนรายละเอียดการปฏิบัติที่อยู่ในระหว่างกลางของระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ย เพื่อให้รูบริคสมบูรณ์
สำหรับรูบริคแบบแยกส่วน
เขียนรายละเอียดสำหรับการปฏิบัติที่อยู่ระหว่างกลางของทุกเกณฑ์
ขั้นที่ 3
หาวิธีการต่างๆ ที่จะอธิบายลักษณะการปฏิบัติที่สูงกว่าระดับค่าเฉลี่ย และต่ำกว่าระดับค่าเฉลี่ย สำหรับแต่ละคุณลักษณะที่สังเกตจากขั้นที่ 2
ขั้นที่ 6
รวบรวมตัวอย่างผลงานของนักเรียน ซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละระดับ ซึ่งจะช่วยการให้คะแนนครูในอนาคต
ขั้นที่ 2 อธิบายคุณลักษณะที่ต้องสังเกตเป็นพิเศษซึ่งครูต้องการเห็น (และที่ไม่ต้องการเห็น) นักเรียนแสดงออกในผลผลิต กระบวนการหรือการปฏิบัติ
ขั้นที่ 7
ทบทวนรูบริคที่ทำแล้ว (ถ้าจำเป็น)
ขั้นที่ 1
ตรวจทานจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องใช้ในการทำงานเป็นการจับคู่แนวทางการให้คะแนนทางกับจุดประสงค์และการชีแนะแนวทางตามความเป็นจริง