Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพโรคติดเชื้อโรคติดเชื้อเขตร้อน…
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพโรคติดเชื้อโรคติดเชื้อเขตร้อน โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
leptospirosis โรคฉี่หนู
อาการ
High fever Headache Chills Muscle aches vomiting Jaundice (yellow skin and eyes)Red eyes Abdominal pain Diarrhea Rash การเจ็บป่วยจะเกิดขึ้นใน2วัน ถึง4สีัปดาห์ หลังได้รับเชื้อ
กลุ่มเสี่ยง
เกษตรกร คนงานเหมือง คนงานท่ิระบายนำ้ คนงานโรงฆ่าสัตว์ สัตว์แพทย์และผู้ดูแลสัตว์ป่า ชาวประมง เกษตรกรผู้เลี่ยงโคนม
การรักษา
Leptospirosis ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะเช่น doxycycline หรือ penicillin ควรได้รับในระยะแรกของโรค ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำจะใช้ในรายที่มีการรุนแรงมากขึ้น
COVID19
อาการ
อาการทั่วไปมีดังนี้ มีไข้ ไอแห้ง อ่อนเพลีย อาการที่พบไม่บ่อยนักมีดังนี้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว เจ็บคอ ท้องเสีย ตาแดง
ปวดศรีษะสูญเสียความสามารถในการดมกลิ่นและรับรสมีผื่นบนผิวหนัง หรือมือนิ้วเท้าเปลี่ยนสี
อาการรุนแรงมีดังนี้ หายใจลำบากหรือหายใจถี่ เจ็บหน้าอกหรือแน่นหน้าอกสูญเสียความสามารถในการพูดและเคลื่อนไหวโปรดเข้ารับการรักษาทันทีหากมีอาการรุนแรง และติดต่อล่วงหน้าก่อนไปพบแพทย์หรือไปสถานพยาบาลเสมอ
ผู้ที่มีอาการรุนแรงและไม่มีปัญหาสุขภาพอื่นๆ ควรรักษาอยู่ที่บ้านโดยเฉลี่ยแล้วผู้ติดเชื้อไวรัสจะแสดงอาการป่วยใน5-6วัน อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยอาจใช้เวลาถึง 14 วันจึงจะแสดงอาการ
วิธีป้องกัน
วิธีป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ล้างมือบ่อยๆโดยใช้สบู่และนำ้ หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์
รักษาระยะห่างที่ปลอดภัยจากผู้ที่ไอหรือจามสวมหน้ากากอนามัยเมื่อไอหรือจามเว้นระยะห่างไม่ให้สัมผัสตา จมูก หรือปาก
ปิดจมูกและปากด้วยข้อพับด้านในข้อศอกหรือกระดาษชำระเมื่อไอหรือจามเก็บตัวอยู่บ้านเมื่อรู้สึกไม่สบาย
หากมีไข้ ไอ และหายใจลำบากโปรดไปพบแพทย์
โรคคางทูม Mumps
อาการ
อาการหลังได้รับเชื้อ7-23วัน มีไข้นำมาก่อน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีการอักเสบของต่อมนำ้ลาย ผิวหนังเหนือต่อมมักแดงกดดูคล้ายเยลลี่
เป็นโรคติดต่อเกิดจากการติดเชื้อไวรัสมีลักษณะคือไข้ ต่อมนำ้ลายอักเสบ และอาจมีตับอ่อนอักเสบ
โรคบาดทะยัก
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียอยู่ในรูปของสปอร์ทำให้ทนต่อความร้อนและนำ้ยาฆ่าเชื้อ
ดรคเกิดได้เร็วหรือช้า รุนแรงหรือไม่รุนแรงขึ้นอยู่กับตำแหน่งแผลและระยะฟักตัวของโรคถ้าแผลอยู่ไกลระบบประสาทจะฟักตัวนานและอาการไม่รุนแรง
โรคไอกรน Whooping cough
การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้ออยู่ในนำ้มูก นำ้ลาย เสมหะผู้ป่วยระยะฟักตัวประมาณ 7-10วัน
ระยะที่3 เป็นระยะฟื้นตัว อาการไอจะลดลงสามารถรับประทานอาหารได้
ระยะแรกๆ มีไข้ตำ่ๆ นำ้มูกไหล จามและไอคล้ายไข้หวัด ประมาณ7-14วัน
ระยะที่2 มีอาการไอเป็นชุด ไอติดต่อกันจนตัวเองหายใจไม่ทัน เมื่อหยุดไอจะหายใจยาวๆเสียงดังวู้บ
โรคคอตีบ Diphtheria
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจที่มีแผ่นเยื่อสีขาวเทาเกิดขึ้นในลำคอ ทำให้มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ พบมากในเด็ก1-5ปี
อาการ อาการจะค่อยๆดป็นค่อยๆไป เริ่มจากมีไข้ตำ่ๆ เจ็บคอเล็กน้อย คอตีบบริเวณจมูก คอตีบบริเวณคอหอยหรือต่อมทอลซิล คอตีบบริเวณกล่องเสียง คอตีบบริเวณอื่นเช่นผิวหนัง
การรักษา การพยาบาล ยาต้านพิษคิตีบ ใชช้ยาปฏิชีวนะทำลายเชื้อ รักษาตามอาการเฝ้าระวังเรื่องพร่องออกซิเจน กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย เฝ้าระวีงการอักเสบขิงเส้นปรัสาท
โรคอิโบล่า Ebola
เป้นการติดต่อจากคนสู่คนโดยการสัมผัสเชื้อจากสารคัดหลั่ง เช่น เลือด นำ้ลาย อุจจาระ นำ้ตา อาเจียน ปัสสาวะ เชื้อจะเข้าทางบาดแผล ปนเปื้อนมากับอาการ
อาการ
ไข้สูงเฉียบพลัน อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียนเป็นเลบือด ท้องเสีย มีการอักเสบของตับไต มีเลือดออกไข้เลือดออก เลือกออกอวัยวะภายใน
การรักษา
รักษาตามอาร ไม่มียาและวัคซีนเฉพาะเพื่อรักษาสมดุลของนำ้และอิเล็กโตรไลต์ ป้องกันเลือดจับตัวเป็นลิ่มในหลอดเลือด ให้ยาลดปอด ให้ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
รักษาตามอาการ และอาการเปลี่ยนแปลง จัดให้อยู่ในห้องแยกเชื้อแบบมาตรฐาน
โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 influenza A H1N1
เกิดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธิ์fluenza เกิดจากการผสมข้ามสายพันธุ์ การติดต่อคนสู่คนทางละอองฝอย การสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยตรง
อาการ
คล้ายกับผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ตามฤดูการปวดเมื่อยตามร่างกายและข้อ เบื่ออาหาร ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
ซานามิเวียร์
ห้ามใช้ในเด็กตำ่กว่า5ปี โรคปอดเรื้อรัง หอบหืดเป็นชนิดพ่นจมูก ผลข้างเคียง คือหายใจลำบาก อาจเกิดอาการซีด อาการสับสน
โอเซลทามิเวียร์
ใช้ในเด็กถึงผู้ใหญ่ ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียนอาจมีปวดท้อง เลือดกำเดา ปัญหาเรื่องหู โรคตาแดง
การพยาบาล
เน้นเรื่องไข้ การพร่องออกซิเจน การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
มาลาเรีย
โรคมาลาเรียหรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัวชนิด พลาสโมเดียม Plasmodium ที่นำโดยยุงก้นป่องเพศเมีย เชื้อพลาสโมเดียม Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมีอยู่5ชนิด คือ Plasmodium falciparum ทำให้เสียชีวิตมากที่สุดและในประเทศไทบพบเชื้อนี้บ่อยที่สุด Plasmodium malariae และ Plasmodium knowlesi ซึ่งเป็นเชื้อมาลาเรียชนิดที่สามารถถ่ายทอดจากลิงไปสู่คนได้โดยยุงก้นป่อง และแหล่งระบาดของโรคมาลาเรียในประเทศไทยอยู่ตามจังหวัดชายแดนโดยเฉพาะบริเวณที่เป็นภูเขาสูง ป่าทึบ และมีแหลางนำ้ ลำธาร อันเป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของยุงก้นป่องจังหวัดที่พบผู้ป่วยมาลาเรียส่วนใหญ่ ได้แก่ ชายแดนไทย-กัมพูชา ชายแดนไทย-เมียนมาร์ และชายแดนไทย-มาเลเซียที่มีการดื้อยา ได้แก่ ชลบุรี สระแก้ว ระยอง ตราด จันทบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ พังงา สุราษฏร์ธานี ชุมพร ระนอง สงขลา ยะลา นราธิวาส มุกดาหาร กาฬสินธุ์ และสกลนคร
อาการ
อาการของไข้จะมี 3ระยะคือ
ระยะหนาวสั่น ผู้ป่วยมีอุณห๓ูมิร่างกายลดลง มีอาการหนาวสั่น กินเวลา30นาที ถึง1ชั่วโมง
ระยะไข้ตัวร้อน ผู้ป่วยมีไข้สูง 40-41เซลเซียส เป็นเวลา 1-4ชั่วโมง
ระยะออกเหงื่อ กินเวลานาน 1-2ชั่วโมง จากนั้นอุณหภูมิร่างกายปกติ
การรักษา
รักษาด้วยยารักษาโรคต้านมาลาเรียยาที่ใช้อยู่กับประเภทและความรุนแรงของโรค การรักษาการติดเชื้อ P.falciparum ที่ได้ผลที่สุด คือ การใช้อาร์ตีมิซินิรวมกับยาต้านมาลาเรียอื่น
l