Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, หน่วยที่ 13 การวิจัยเพื่อการส่งเ…
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายของการวิจัย
ศึกษาข้อเท็จจริง
ผู้วิจัยต้องมีความรู้ คิดริเริ่ม
ใช้กระบวนการอย่างเป็นระบบ
มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการค้นคว้าหาคำตอบ
ประเภทของการวิจัย
1.เกณฑ์ที่อิงจุดมุ่งหมายของการวิจัย
วิจัยบริสุทธิ์
วิจัยประยุกต์
2.เกณฑ์ที่อิงการควบคุมตัวแปร
เชิงทดลอง
กึ่งทดลอง
วิจัยตามธรรมชาติ
3.เกณฑ์ที่อิงประเภทของข้อมูล
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
4.เกณฑ์ที่องเวลาที่เหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้น
วิจัยเชิงประวัติศาสตร์
วิจัยปัจจุบัน
วิจัยอนาคต
5.เกณฑ์ที่อิงสาขาวิชา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางวิทยาศาสตร์
วิจัยทางการแพทย์
วิจัยทางสังคมวิทยา
ประเด็นการวิจัยในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกาตร
1.การวิจัยทางการเกษตร
2.การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตรและการปรับใช้
3.การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยี
4.การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรกร
5.การวิจัยด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบของความสัมพันธ์การวิจัยและการส่งเสริมฯ
1.การวิจัย
2.การส่งเสริมและพัฒนา
3.เกษตรกร
4.นักส่งเสริม
กระบวนการวิจัย
ขั้นเตรียมการ
กำหนดโจทย์วิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์
การออกแบบการวิจัย
การเสนอโครงการวิจัย
ขั้นดำเนินการ
การสร้างเครื่องมือ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นสรุปและรายงานผล
สรุป อภิปราย และเสนอแนะ
การจัดทำรายงานผลการวิจัย
จรรยาบรรณของนักวิจัยที่นักส่งเสริมควรรู้และปฏิบัติ
1.ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม
2.ตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัย
3.นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาที่ทำวิจัย
4.นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
5.นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่เป็นตัวอย่างในการวิจัย
6.นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด
7.นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
8.นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
9.นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
หน่วยที่ 13 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5