Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Atrial septal defect ( ASD ), image, image, image, image - Coggle Diagram
Atrial septal defect ( ASD )
ความหมาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว ที่มีรู รั่วบริเวณผนังกั้น (septum) ระหว่างหัวใจ ห้องบน (atrium) ทำให้เกิดทางติดต่อ ระหว่าง atrium ซ้ายและขวา
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ลิ้นหัวใจรั่ว
การติดเชื้อแบคทีเรียในหัวใจ
วินิจฉัยพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อระบบทางเดินหายใจได้ ง่ายเนื่องจากปอดขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด เช่น ปอดแฟบ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากมีภูมิคุ้มกันเจริญเติบโตไม่เต็มที่และมีทางเปิดของผิวหนัง
พยาธิสรีรวิทยา
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว ที่มีรูรั่ว บริเวณผนังกั้นหัวใจห้องบน ทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างห้องบน ซ้ายและขวา เมื่อมีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นหัวใจห้องบน เลือดที่ฟอก จากฟอดแล้วจะเข้าที่หัวใจห้องบนซ้าย ซึ่งจะมีความดันเลือดสูง เลือดแดงส่วนหนึ่งจะไหลลัดจากหัวใจห้องบนซ้ายไปยังหัวใจบน ขวา ทําให้เลือดตาและเลือดแดงผสม ทำให้มีปริมาณเลือดไหล กลับเข้าสู่ห้องบนขวามากกว่าปกติ ทำให้หัวใจห้องบนซ้ายและขวา ทํางานหนักมากขึ้น กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาขยายและหนาขึ้น ส่งผลให้เลือดไปปอดมากขึ้น และเลือดแดงอีกส่วนหนึ่งจะไหลผ่าน ลิ้นไมทรัลลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ทำให้มีปริมาณเลือดไหลเวียนไป เลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง แต่เลือดแดงมีความดันเลือดสูงทำให้ ผู้รับบริการไม่มีอาการเขียว
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่มีปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิด ได้แก่ การติดเชื้อไวรัสบางชนิด ในระยะ 3 เดือนแรก ของการตั้งครรภ์, พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การติดเชื่อในระบบทางเดินหายใจบ่อยๆดูดนมใช้เวลานาน
การตรวจร่างกาย
คลำพบ Right ventricular heave ในเด็กอายุมากกว่า 2 ปี จะ ฟังได้เสียงเมื่อหัวใจบีบตัวเรียกว่า Systolic ejection murmur ที่บริเวณขอบซ้ายของกระดูกอกตอนบน บางรายอาจฟังได้ยิน Mid diastolic murmur ที่บริเวณขอบซ้ายของกระดูกอกตอน ล่าง
การรักษา
ผู้ป่วยที่มี primum ASD, sinus venosus ASD และ coronary sinus ASD ทุกรายต้องได้ รับการผ่าตัดทำ direct closure หรือ patch closure เนื่องจากไม่สามารถปิดได้เอง 12,13 ผู้ป่วย secundum ASD ที่มีขอบของรูรั่ว ASD มากกว่า 5 มม. และมีแรงต้านทานหลอด เลือดในปอดน้อยกว่า 8 WU.m2 รักษาด้วยการปิดรูรั่วด้วยอุปกรณ์ผ่านสายสวนหัวใจ
ลักษณะอาการทางคลินิก
ส่วนใหญ่ในเด็กเล็กมักไม่มีอาการผิดปกติใดๆ และไม่ได้ รับการวินิจฉัยจนอายุ 35 ปี อาจพบว่าเสียงหัวใจผิดปกติ murmur ขณะพบแพทย์ด้วยสาเหตุอื่น
หากมี Lt. to Rt. shunt ปริมาณมากจะอ่อนเพลียและ เหนื่อยง่าย เวลาออกกำลังกาย การเจริญเติบโตมักเป็น ปกติ
ในผู้ป่วย ASD ที่รูขนาดใหญ่ ( > 0.5 cm.) มีเลือดไปที่ ปอดมากเป็นระยะเวลานานทำให้หลอดเลือดที่ปอดจะหนา ตัวขึ้น และตีบมากขึ้น เป็นผลให้ความดันในปอดสูงมากขึ้น จนในที่สุดสามารถดันเลือดดำให้ผ่านรู ASD ไปปนกับ เลือดแดง และเกิดหัวใจล้มเหลวตามมาได้
เป้าหมาย
ทําให้อัตราการไหลของเลือดผ่านปอด ต่ออัตราการไหลของเลือดผ่าน ร่างกาย น้อยกว่า 2:1 ทำให้มี LT. to Rt. Shunt เลือดไปปอดมากขึ้น
ข้อมูบสนับสนุน
วินิจฉัยได้ด้วยความบังเอิญจากการตรวจพบเสียงหัวใจผิดปกติ
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาโดยการใส่อุปกรณ์ปิดรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องบน