Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนการตรวจราชการของกรุงเทพมหานคร - Coggle Diagram
แผนการตรวจราชการของกรุงเทพมหานคร
กรอบการตรวจราชการ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
นโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
(216 นโยบาย 9 ด้าน 9ดี )
การบริหารจัดการงบประมาณ การเงิน การบัญชี พัสดุ สารบรรณ งานบริหารบุคคล ความสะอาดและความเรียบร้อยของอาคารสถานที่
เรื่องร้องเรียนขอหน่วยงาน
เรื่องทีประชาชนร้องเรียน
การจัดทำแผนการตรวจราชการ
ศึกษายุทธศาสตร์ 20 ปี
แผนแม่บท
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ (ฉบับที่ 13)
แผนพัฒนากรุงเทพฯระยะ20ปี (2561-2580)
นโยบายผู้ว่าฯ
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพฯ
แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผน
จัดทำร่างแผนการตรวจ
วิเคราะห์กำหนดกรอบ แนวทาง ประเด็นนโยบาย
โดยยึด แผนพัฒนากทม. นโยบายผู้ว่าฯ
แผนปฏิบัติราชการกทม.
ประชุมคณะทำงาน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการ
ตรวจราชการของผู้ตรวจ
เสนอร่างแผนการตรวจประจำปีต่อที่ประชุม
สัมมนาเพื่อจัดทำร่างแผนการตรวจราชการ กำหนดประเด็นการตรวจราชการ พิจารณาร่างแผนการ
ตรวจราชการฯจากหน่วยงงานผู้รับการตรวจ
เสนอแผนการตรวจราชการฯต่อคกก.
(ปลัด กทม.เป็นประธาน) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการตรวจราชการฯ พ.ศ.2553 ข้อ17
นำเรียนผู้ว่าฯเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติแผนการตรวจราชการฯ
แจ้งแผนการตรวจให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบและ
ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
แนวคิดในการจัดทำแผนการตรวจราชการกรุงเทพมหานคร
.รัฐธรรมนูญ2560 หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ(ม.51-63)
หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ
( ม.64-79)
พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริการกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546
หลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดำริ
“เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา”
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
มี 6 ยุทธศาสตร์
1.ด้านความมั่นคง
2.ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3.ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
4.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
5.การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
6.ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มีจำนวน 23 ฉบับ
1.ความมั่นคง
2.การต่างประเทศ
3.การเกษตร
4.อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
5.การท่องเที่ยว
6.พื้นทีแ่ละเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ
7.โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล
8.ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ยุคใหม่
9.เขตเศรษฐกิจพิเศษ
10.การปรับเปลี่ยนค่านิยม และวัฒนธรรม
11.ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
12.การพัฒนาการเรียนรู้
13.การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
14.ศักยภาพการกีฬา
15.พลังทางสังคม
16.เศรษฐกิจฐานราก
17.ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม
18.การเติบโตอย่างยั่งยืน
19.การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ
20.การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
21.การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
22.กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
23.การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่3 (พ.ศ.2566-2570) วิสัยทัศน์ "มหานครแห่งเอเชีย"
มี 7 ยุทธศาสตร์
1.การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
2.การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3.การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
4.การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะ
5.ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
6.การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์และการเรียนรู้
7.การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการ
มหานคร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งขาติ ฉบับที่ 13
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2566
นโยบายของผู้ว่าฯ(216 นโยบาย )แบ่งเป็น 9 ด้าน 9 ดี
1.ปลอดภัยดี
2.สุขภาพดี
3.สร้างสรรค์ดี
4.สิ่งแวดล้อมดี
5.บริหารจัดการดี
6.เรียนดี
7.โครงสร้างดี
8.เศรษฐกิจดี
9.เดินทางดี
ประเด็นการตรวจราชการแบบบูรณาการประจำปีงบประมาณ 2566 2 ประเด็น
1.ประเด็นเรื่อง"การป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม"
2.ประเด็นเรื่อง "การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน"
การตรวจราชการของกรุงเทพมหานคร
ประเภทของการตรวจราชการ จำแนกได้ 6 ประการ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ
การตรวจราชการเฉพาะพื้นที่
ทั้งระดับสำนักและสำนักงานเขต
การตรวจราชการตามภารกิจเร่งด่วน ภารกิจสำคัญ
และเรื่องที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย
ตรวจสอบข้อเท็จจริง สืบสวน รับฟังเหตุการณ์ และตรวจสอบเรื่องร้องเรียน หรือเรื่องสำคัญที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
การตรวจราชการตามประเด็นที่ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีแจ้ง
ให้การสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานของหน่วยงานภายใต้แผนการตรวจของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงมหาดไทย
วิธีการตรวจราชการ
คณะผู้ตรวจราชการออกตรวจราชการหน่วยรับการตรวจ
ที่รับผิดชอบ และจัดทำรายงานสรุปผลการตรวจราชการในส่วนของเขตตรวจ รายงานผลการตรวจในภาพรวม
เสนอผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
ขั้นตอนการดำเนินงาน/ขอบเขตในการตรวจติดตาม
1.การตรวจราชการแบบบูรณาการ
1.เตรียมความพร้อมก่อนออกตรวจราชการ
การออกตรวจราชการ
การจัดส่งข้อมูลตามประเด็นการตรวจราชการ
การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ
(รายเขตตรวจราชการ)
การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ (ในภาพรวม)
เสนอรายงานผลการตรวจราชการต่อที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดแผนและติดตามผลฯ
เสนอรายงานผลการตรวจราชการต่อผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
2.การตรวจราชการเฉพาะพื้นที่
การเตรียมความพร้อมก่อนออกตรวจราชการ
การออกตรวจราชการ
3.การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ
(ของผู้ตรวจราขการฯ สำนัก/สำนักงานเขต)
การรวบรวมผลการตรวจราชการเฉพาะพื้นที่
การจัดทำรายงานผลการตรวจราชการประจำปี
การตรวจราชการตามประเด็นการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
ประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
แจ้งแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
การเตรียมความพร้อมก่อนออกตรวจราชการ
ระยะเวลาในการตรวจติดตาม
รายงานผลการตรวจราชการ