Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
อาการไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1
คลื่นไส้อาเจียน/แพ้ท้อง
Nausea and Vomitting
สาเหตุ
HCG & Progesterone
อารมณ์ การเผาผลาญ
CHO ผิดปกติ เหนื่อยล้า
การแก้ไข ดูแลตนเอง
ควรกินอาหารอ่อนย่อยง่าย เลือกกินอาหารที่ยังอุ่น ๆ
และแบ่งอาหารออกเป็นมื้อย่อย ๆ ประมาณวันละ 5-6 มื้อ
จะช่วยลดความรู้สึกคลื่นไส้อาเจียน และอาการแน่นท้องได้
ไม่ควรนอนทันทีหลังรับประทานอาหารเสร็จ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นฉุน มัน รสจัด อาหารที่เกิดแก๊ส คาเฟอีน
ถ้าอาการรุนแรงหรือยาวนาน ต้องพบแพทย์
อาการอยากอาหาร
Food cravings
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
การแก้ไข ดูแลตนเอง
รับประทานได้แต่ต้องระวังผลเสียต่อสุขภาพ
แนะนำอาหารที่จำเป็นต่อหญิงตั้งครรภ์
อ่อนเพลีย รู้สึกไม่สบาย
Fatigue and malaise
สาเหตุ
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
ภาวะโลหิตสูงสามารถทำให้มีอาการมากขึ้น
พบได้ตลอดการตั้งครรภ์
การแก้ไข ดูแลตนเอง
ควรนอนอย่างน้อย วันละ 6-10 ชั่วโมง
และการพักผ่อนในเวลากลางวัน 1-2 ชั่วโมง
ถ้าไม่ใช่งานใช้กำลังกายอย่างหนักสตรีตั้งครรภ์สามารถทำได้
จน 1-2 เดือน ก่อนครบกำหนดคลอด
จึงแนะนำให้หยุด หรือเปลี่ยนลักษณะของงานเป็นงานเบา ๆ
คัดตึงและรู้สึกเสียวที่เต้านม
Breast tenderness
สาเหตุ
ระยะ 6 สัปดาห์แรก เต้านมจะใหญ่ขึ้น
คล้ายมีก้อน หัวนมคล้ำขึ้น ไวต่อความรู้สึก
การแก้ไข ดูแลตนเอง
ควรใช้ขนาดของยกทรงให้ถูกต้องตามขนาดของเต้านมที่
ขยายขึ้น สายเสื้อควรจะกว้างและยาวพอที่จะไม่กดไหล่
บริเวณหัวนมโปร่ง ไม่กด
หลีกเลี่ยงการถูกชน กระแทก
ถ้าปวดมาก หรือหัวนมแตกอักเสบควรปรึกษาแพทย์
ปัสสาวะบ่อย
Urinary frequency
สาเหตุ
กระเพาะปัสสาวะทำงานลดลงจาก ฮอร์โมน ADH
มดลูกไปเบียดกระเพาะปัสสาวะความจุลดลง
พบมากในไตรมาสที่ 1 และ 3
การแก้ไข ดูแลตนเอง
แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะไว้นาน ๆ เนื่องจากเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ เพราะมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ
คัดจมูก เลือดกำเดาไหล
Nasal congestion
สาเหตุ
Hormone Estrogen ทำให้เยื่อบุโพรงจมูกบวม
เส้นเลือดฝอยแตกง่าย
การแก้ไข ดูแลตนเอง
ประคบจมูกด้วยถุงน้ำแข็ง หรือถ้าไม่มีก็ใช้อะไรก็ได้ที่เย็นจัด ๆ
ห่อไว้ด้วยผ้าขนหนูประคบไว้ที่จมูกและแก้ม
ความเย็นที่แผ่กระจายไปทั่วบริเวณใบหน้า
จะทำให้เลือดที่หมุนเวียนไปอุดคั่งที่จมูกจำนวนลดลง
หลีกเลี่ยงใช้ยาแก้แพ้
พ่นละอองอากาศเย็น ๆ เพื่อลดบวม
น้ำลายมาก
Ptyalism
สาเหตุ
ต่อมน้ำลายใหญ่ขึ้นผลิตน้ำลายมากขึ้น
พบเมื่ออายุครรภ์ 2-3 สัปดาห์
การแก้ไข ดูแลตนเอง
แนะนำให้คุณแม่รับประทานอาหารน้อย ๆ แต่บ่อยครั้งขึ้นในแต่ละวัน
ไตรมาสที่ 2
ท้องผูก
Constipation
สาเหตุ
เกิดจาก Hormone Progesterone
ลำไส้ใหญ่ถูกกด ดื่มน้ำน้อย ไม่ออกกำลังกาย
การแก้ไข ดูแลตนเอง
ไม่ควรนั่งถ่ายนาน ๆ
ไม่ควรเบ่งถ่าย ห้ามกินยาถ่าย
หรือยาสวน ยกเว้นแพทย์สั่ง
รับประทานอาหารที่มีกากใย
ฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา
ท้องอืด
Flatulence
สาเหตุ
เกิดจาก Hormone Progesterone
มีแบคทีเรียในลำไส้
การแก้ไข ดูแลตนเอง
รับประทานอาหารที่มีกากใย
รับประทานอาหารครั้งละน้อย ๆ
แต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
เปลี่ยนท่าทางอริยาบทบ่อย ๆ
มดลูกตึงตัว
Braxton Hicks contraction
สาเหตุ
ระดับHormone Estrogen สูงขึ้น
มดลูกขยายขนาด
การแก้ไข ดูแลตนเอง
แนะนำให้นอนพักผ่อนถ้ามีอาการท้องแข็งตึงบ่อย ๆ
อธิบายให้เข้าใจว่าเป็นอาการปกติที่พบได้ขณะตั้งครรภ์
ปวดท้องน้อย
Round ligament pain
สาเหตุ
เกิดจากการที่มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น
ทำให้มีการยืดขยายของ Round ligament
การแก้ไข ดูแลตนเอง
การอาบน้ำอุ่น
นอนตะแคงซ้ายใช้หมอนรองรับมดลุกไว้
เมื่อครรภ์แก่แนะนำใช้ผ้าแถบหรือผ้ายึกรัดท้องพยุงไว้
เส้นเลือดขอด
Varicose veins
สาเหตุ
เกิดจาก Hormone Progesterone
ผนังหลอดเลือดหย่อนตัว
การแก้ไข ดูแลตนเอง
นวดเพื่อลดอาการปวดเมื่อย ด้วยการนั่งบนเก้าอี้และยกขาข้างหนึ่ง
ขึ้นมาพาดบนเข่าอีกข้างหนึ่ง แล้วใช้มือจับบีบที่น่องไปเรื่อย ๆ
หลีกเลี่ยงการยืนนาน ๆ หรือการนั่งไขว้ห้าง นั่งห้อยขานาน ๆ
บริหารข้อเท้า และแช่น้ำอุ่น
เวลานอนใช้หมอนรองใต้ขาสูง 45 องศา นาน 5-10 นาที