Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยยรุ่นที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยยรุ่นที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
การบาดเจ็บ (Injuries)
กลุ่มอาการเจ็บป่วยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีสาเหตุมาจากพลังงาน (Energy) รูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น พลังงานกล พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อน
อุบัติเหตุ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด และเกิดขึ้นอย่างกะทันหันซึ่งก่อให้เกิด
การอันตรายหรือบาดเจ็บต่อเด็กป็นเหตุให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการ หยุดชะงักลงได้
ปัจจัยเสี่ยงของการบาดเจ็บในเด็ก
ปัจจัยจากตัวเด็ก
วัยของเด็ก เด็กวัยต่างกันมีประสบการณ์และพัฒนาการที่แตกต่างกัน
เพศ เด็กผู้ชายจะโลดโผน พฤติกรรมก้าวร้าว ชอบผจญภัยมากกว่าจึงมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
กว่าเด็กผู้หญิง
สภาพทางกายของเด็ก
ปัจจัยจากบิดามารดาหรือผู้ดูแล
เช่น ความยากจน บิดามารดาวัยรุ่น ขาดความรู้ ขาด
ความระมัดระวังในการดูแลเอาใจใส่ ทำให้เกิดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขึ้นได้
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ได้แก่ ถนน แม่น้ำ ลำคลองสระน้ำ สนามเด็กเล่น การจัดสภาพภายในบ้าน
ไม่เป็นระเบียบ
พัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
แรกเกิด -2 เดือน
ขาดอากาศเมื่อบริเวณที่นอนมีวัสดุนุ่มฟูอุดจมูก
2-6 เดือน
ตกจากที่สูง การบาดเจ็บจากการถูกของร้อน สำลัก สิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจ
6-12 เดือน
พลัดตกหกล้ม จมน้ำ สำลัก สิ่งแปลกปลอมอุดกั้น ได้รับสารพิษจากยา สารเคมี
12-18 เดือน
พลัดตกหกล้ม จมน้ำ สำลัก สิ่งแปลกปลอมอุดกั้น ได้รับสารพิษจากยาได้รับÿารพิþ
18-24 เดือน
พลัดตกหกล้ม สำลักอาหาร อันตรายจากการใช้ถนน ได้รับได้รับสารพิษ
2-5 ปี
อุบัติเหตุบนท้องถนน การบาดเจ็บจากของมีคม
6-10 ปี
อุบัติเหตุบนท้องถนน อุบัติเหตุและเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปเเบบ
10-13 ปี
อุบัติเหตุบนท้องถนน อุบัติเหตุและเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปเเบบ
13-18 ปี
อุบัติเหตุบนท้องถนน อุบัติเหตุและเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปเเบบ
การป้องกันอุบัติเหตุเบื้องต้น
การดูแลเด็กเล็ก แรกเกิด – 5 ปี อย่างใกล้ชิด ชนิดเอื้อมถึงหรือคว้าทัน
จัดบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
ความตระหนักถึงอันตรายและความประมาท
การหาอุปกรณ์ที่ปลอดภัย
การเลือกของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก
สอนเด็กให้มีระเบียบวินัยรวมถึงการป้องกันอุบัติเหตุนอกบ้าน
การให้ความรู้แก่ประชาชนเด็กในโรงเรียน ครูและผู้ดูแลเด็ก
การพยาบาลเมื่อเด็กได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
1 การช่วยกู้ชีพ ช่วยเหลือจัดท่าช่วยหายใจ ผายปอด ช่วยให้มีการไหลเวียนที่ดีขึ้น
2 การช่วยเพื่อรักษาอวัยวะ เช่น การปิดแผล ห้ามเลือด การทำให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่ง
บรรเทาอาการปวด
1.3 การสร้างขวัญและกำลังใจ การปลอบประโลม อุ้มกอด จะช่วยให้เด็กผ่อนคลาย
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บโดยตรง (Direct injury)
เป็นการบาดเจ็บที่ศีรษะเกิดขณะศีรษะยู่ นิ่งหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อย
บาดเจ็บขณะที่ศีรษะเคลื่อนที่ เป็นการบาดเจ็บที่ศีรษะเกิดขณะที่ศีรษะมีการเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วไปกระทบกับวัตถุที่อยู่นิ่งหรือกำลังเคลื่อนที่
การบาดเจ็บโดยอ้อม (Indirect injury)
เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นๆ ของร่างกายแล้วมีผลสะท้อนทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะ
กะโหลกศีรษะแตกร้าว (Skull Fracture)
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีขอบตาเขียวคล้ำ (Raccoon eyes) มีเลือดออกซึมบริเวณกระดูก Mastoid ( Battle signs) มีเบ้า
ตา หรือหลังหูเขียวช้ำ มีของเหลวให้ซึ่งเป็นน้ำไขสันหลังไหลออกจากจมูกหรือหู (Rhinorrhea หรือ Otorrhea)
การวินิจฉัย
Glucose reagent strip ถ้าเป็นน้ำไขสันหลังจะเห็นผลบวก
การรักษา
ศีรษะสามารถเชื่อมติดกันได้ ภายใน 6-8 สัปดาห์
สมองถูกกระแทก (Concussion)
ไม่มีการทำลายโครงงสร้างของสมอง สมองจะสูญเสียหน้าที่ชั่วคราว
การรักษา
ถ้าหมดสตินานกว่า 5 นาทีให้รับไว้สังเกตอาการในโรงพยาบาล
สมองช้ำ (Contusion)
อาการและอาการแสดง
ระดับการรู้สึกตัวลดลง สับสน คลื่นไส้
แขนขา อ่อนแรง ชักมีปัญหาการพูด การมองเห็น
การรักษา
การป้องกันสมองบวมโดยช่วยหายใจ ให้สารน้ำและอาหารให้เพียงพอ
ก้อนเลือดออกซับดูรัล (Subdural Hematoma)
อาการและอาการแสดง
ก้อนเลือดออกที่ Subdural อาจมีอาการภายใน 3 วัน
การรักษา
การเจาะกระหม่อมจะเจาะทุกวัน
จนกว่าจะไม่ได้เลือด
ก้อนเลือดออกอิพิดูรัล (Epidural Hematoma)
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีอาการแสดงของ cortical ถูกกด คือ
อาเจียน สลบ ปวดศีรษะ ชัก
การรักษา
Lucid interval ชัดเจนควรผ่าตัดเอาก้อนเลือดออกและเย็บ
ตกแต่งหลอดเลือดที่ฉีกขาด
กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture and Dislocation)
การจำแนกกระดูกหัก
แบ่งตามชนิดของบาดแผล
กระดูกหักแบบ ไม่มีแผลทะลุติดต่อกับภายนอก (Close fracture หรือ Simple fracture)
กระดูกหักแบบที่มีทางหรือบาดแผลทะลุผิวหนังบริเวณที่มีกระดูกหัก (Open fracture หรือ
compound fracture) ทำให้มีโอกาสติดเชื้อถึงกระดูกได้
แบ่งตามปริมาณการแตกของกระดูก
กระดูกหักหรือแตกแล้วแยกออกจากกันโดยเด็ดขาด (Complete fracture)
กระดูกหักแตกบางส่วนหรือร้าว (Incomplete fracture หรือ Greenstick fracture)
แบ่งตามลักษณะรอยหักของกระดูก
กระดูกหักหรือแตกเป็นเส้นตรง (Longitudinal)
กระดูกหักเป็นเส้นขวาง (Transverse)
กระดูกหักเป็นเส้นเฉียงหรือเฉ (Oblique)
กระดูกหักเป็นเส้นคดเคี้ยว (Spiral)
กระดูกหักเป็นตัว วี ที หรือวาย (V T Y shape)
กระดูกหักแบบหดหรือบีบแบน (Compression)
กระดูกหักแบบอัดแน่น (Impacted)
กระดูกหักหรือแตกเป็นเสี่ยงๆ เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย (Comminuted)
กระดูกหักเป็นท่อนๆ หลายท่อน (Segmented)
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่มีพยาธิสภาพ
บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก พลาสม่าซึมเข้าสู่ เนื้อเยื่อ
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือเคลื่อนเพิ่มมากขึ้น
ให้แก้ไขตามปัญหาและพยากรณ์โรคที่จะเกิดขึ้นกับกระดูกหักนั้น ๆ
เป้าหมายการรักษา ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
ไฟไหม้และความร้อนลวก (Burn and Scald)
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ เกี่ยวกับระยะเวลาที่เกิดเหตุ
ประเมินความรุนแรงของบาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกยิ่งที่ต้องพิจารณา
ประเมินความลึก
ระดับหนึ่ง (First degree) เนื้อเยื่อชั้นผิวหนังถูกทำลายเพียงบางส่วน (Partial thickness)
ระดับสอง (Second degree) มีการทำลายของผิวหนังบางส่วน (Partial thickness) แต่ลึกถึงชั้น
ผิวหนังชั้นใน ต่อมเหงื่อ และรูขุมขน
ระดับสาม (Third degree) ชั้นของผิวหนังถูกทำลายทั้งหมด (Full thickness)
ประเมินความกว้าง
ใช้กฎของ 9 โดยแบ่งพื้นที่ในแต่ละส่วนเป็น 9 (Rule of nines)
1 more item...
การช่วยเหลือในที่เกิดเหตุ
กำจัดสาเหตุของความร้อนที่เผาไหม้หรือลวกตัวเด็ก
ใช้น้ำเย็นสะอาด 8 – 23 องศาเซลเซียสประคบหรือชโลมบาดแผล
ใช้น้ำสะอาดล้างตัวและบาดแผลก่อนนำส่งโรงพยาบาล
การรักษา
1. รักษาแบบผู้ป่วยนอก
ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำเกลือและสบู่
2. รับเข้ารักษาในโรงพยาบาล
ช่วยหายใจ
ดูแลระบบไหลเวียน ภาวะการไหลเวียนล้มเหลว