Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 16 (รับใหม่ ) - Coggle Diagram
เตียง 16 (รับใหม่ )
ข้อมูลทั่วไป
General appearance
ผู้ป่วยชายไทย รู้สึกตัวดี สื่อสารโต้ตอบได้ปกติ ผู้ป่วยย้ายมาจากแผนกอายุรกรรม ( นั่งรถเข็น ) รูปร่างสมส่วน ไม่มีบาดแผล รอยแผลเป็น ศีรษะสมส่วน ผมบาง ตาจมูกปากไม่บิดเบี้ยว แขนบริเวณบนข้อพับด้านซ้ายมี injection plug สามารถเคลื่อนไหวแขนได้ตามปกติ Retained foley’s catheter ปัสสาวะมีสีเหลือง บริเวณขาทั้งสองข้างบวมตึง ผิวหนังบริเวณขามีลักษณะแห้ง แตก ผู้ป่วยมีแผลที่เท้าซ้าย บริเวณก๊อซไม่มีเลือดซึม บวมแดง
V/S ขณะรับเคส Temperature 36.3 องศาเซลเซียส Pulse Rate 88 ครั้ง/นาที Respiratory Rate 18 ครั้ง/นาที Blood Pressure 109/66 มิลลิเมตรปรอท และ Pain score = 0
-
-
-
Present illness
- 1 wk. PTA มีอาการแน่นท้อง เหนื่อยมากขึ้น พูดไม่จบประโยค ลุกนั่งขยับตัวแล้วเหนื่อยง่ายกว่าปกตินอนราบไม่ได้ มีขาบวมเล็กน้อย
- 3 d. PTA สังเกตเห็นขาบวมมากขึ้น 2 ข้าง ท้องบวมแน่นขึ้น
- 1 d. PTA ปัสสาวะออกน้อยลง เป็นหยดๆ มีอาการปวดปัสสาวะ แต่ไม่ออก
-
-
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
ยากิน
-
-
-
-
FERMASIAN 200 MG. TAB.
Ferrous fumarate 200 mg. Tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหาร เช้า
:รับประทานยาห่างจากแคลเซียม นม ยาลดกรด อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
-
ผลข้างเคียง กิดผลข้างเคียงชั่วคราวที่ไม่รุนแรง ซึ่งอาการมักจะดีขึ้นได้เองเมื่อร่างกายปรับตัวเข้ากับยาได้แล้ว เช่น มีอาการปวดท้อง ท้องผูก ท้องเสีย อุจจาระกลายเป็นสีดำหรือปัสสาวะสีเข้ม และรู้สึกเบื่ออาหาร แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหรือเป็นต่อเนื่อง ควรปรึกษาแพทย์
-
ข้อควรระวัง
- แจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยาหากมีภาวะธาตุเหล็กในร่างกายมากเกินไป มีภาวะโลหิตจางที่มีเม็ดเลือดแดงเล็ก
SODIUM BICARBONATE 300 MG TAB. (DPF)
Sodium bicarbonate 300 mg. Tab.
รับประทานครั้งละ 4 เม็ด วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และ ก่อนนอน
สรรพคุณ ใช้เป็นยาลดกรด บรรเทาอาการแสบร้อนกลางอก บรรเทาอาการจุกเสียด ลดอาการระคายเคือง เนื่องจากมีกรดมากในกระเพาะอาหาร
-
-
ข้อควรระวัง ควรระมัดระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ห้ามใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะร่างกายอาจดูดซึมโซเดียมไบคาร์บอเนต (ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง) จนทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นด่าง (Alkalosis)
-
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG.
(GPO) Omeprazole 20 mg. cap.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า
-
-
-
ข้อควรระวัง
- ยาโอเมพราโซลอาจทำให้เสี่ยงต่อกระดูกเอว สะโพก และกระดูกสันหลังแตกหรือหักได้ โดยเฉพาะผู้ที่ใช้ยาปริมาณมากหรือเป็นเวลานาน หรือผู้ที่อายุ 50 ปีขึ้นไป
- ยานี้อาจทำให้ขาดวิตามินบี 12 หากใช้ติดต่อนานเกิน 3 ปี ควรปรึกษาแพทย์หากต้องใช้ยาเป็นเวลานาน
-
-
CESOLINE W 25 MG. TAB.
Hydralazine hcl 25 mg. Tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
-
ผลข้างเคียง หัวใจเต้นเร็วหรือใจสั่น มีอาการบวมที่ใบหน้า ท้อง มือหรือเท้า มีอาการชา ปวดแสบปวดร้อน เจ็บ หรือรู้สึกคล้ายเข็มทิ่ม
-
ข้อควรระวัง
- ควรแจ้งให้แพทย์หรือเภสัชกรทราบหากมีประวัติแพ้ยานี้หรือมีอาการแพ้ยาอื่น ๆ เนื่องจากยาไฮดราลาซีนอาจมีส่วนประกอบที่ทำให้เกิดการแพ้หรืออาการไม่พึงประสงค์อื่น ๆ ต่อผู้ใช้ได้
- ผู้ที่เป็นเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหัวใจรูมาติกที่มีผลกระทบต่อลิ้นหัวใจ ไม่ควรใช้ยานี้ หรือควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้ยา
ISOTRATE 10 MG TAB
Isosorbide dinitrate 10 mg. Tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น
-
-
-
ข้อควรระวัง
- แจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับยา วิตามิน หรือสมุนไพรทุกชนิดที่ผู้ป่วยกำลังใช้อยู่ เพราะยาบางชนิดอาจทำปฏิกิริยากับยานี้จนส่งผลให้ความดันโลหิตต่ำลงอย่างรุนแรง
- หลีกเลี่ยงการลุกจากท่านั่งหรือท่านอนเร็วเกินไป เพราะอาจรู้สึกเวียนศีรษะ
- หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ขณะใช้ยานี้ เพราะตัวยาอาจไปเพิ่มความเสี่ยงของผลข้างเคียงได้ เช่น เวียนศีรษะ ง่วงซึม หน้ามืด หมดสติ เป็นต้น
CHLOVAS-40 TAB.
Atorvastatin 10 mg. Tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วะนละ 1 ครั้ง หลังอาหารเย็น :หลีกเลี่ยง Grapefruit Juice
-
ผลข้างเคียง ปวดตามข้อ ท้องเสีย มีอาการอักเสบที่คอและจมูก หรืออาจมีอาการติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ นอนไม่หลับ ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อแขนและขา กล้ามเนื้อเกร็ง และคลื่นไส้
-
ข้อควรระวัง
- ผู้ป่วยที่มีประวัติโรคตับ ควรปรึกษาแพทย์ หรือหากมีอาการของโรคตับไม่ควรใช้ยานี้
- ผู้ป่วยโรคไตควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
-
ยาฉีด
MORPHINE SULFATE 10 MG. INJ. 1 ML. (PRES.- FREE)
Morphine Sulphate 10 mg. inj. 1 ml.
3mg.Iv prn q 6 Hrs. for severe pian
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกิน เนื่องจาก cardio output ลดลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงที่ไตน้อยลง
ข้อมูลสนับสนุน
Bun 31.9 mg/dL (ค่าปกติ8.9 - 20.6 mg/dL) สูงกว่าค่าอ้างอิง
Creatinine 1.58 mg/dL (ค่าปกติ 0.73 - 1.18 mg/dL) สูงกว่าค่าอ้างอิง
Sodium(Na) 132 mmol/L (ค่าปกติ 136 - 145mmol/L ) ต่ำกว่าค่าอ้างอิง
CO2 18.3 mmol/L (ค่าปกติ 22 - 29 mmol/L ) ต่ำกว่าค่าอ้างอิง
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าอิเล็กโทรไลต์ ค่า BUN 8.6-20.6 mg/dL หรืออยู่เกณฑ์ที่แพทย์รับได้
ค่า Creatinine 0.73-1.18 mg/dL หรืออยู่เกณฑ์ที่แพทย์รับได้
Sodium(Na) 136 - 145mmol/L หรืออยู่เกณฑ์ที่แพทย์รับได้
CO2 22 - 29 mmol/L หรืออยู่เกณฑ์ที่แพทย์รับได้
-
-
-
กิจกรรมทางการพยาบาล
-
-
3.ฟังเสียงปอดและเสียงหัวใจทุกๆ2-4 ชั่วโมง ประเมินเสียงหายใจที่ผิดปกติ เสียงแทรกเช่น crepitation wheezing สังเกดอาการหายใจลำบาก หายใจเร็วนอนราบไม่ได้ ไอเสมหะเป็นฟองหรือมีสีชมพู ประเมินเสียงหัวใจที่ผิดปกติ เช่น เสียงฟู๊ทีมากขึ้น หรือเกิดใหม่
4.จากัดน้ำไนแต่ละวันตามแนวการรักษา อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความสำคัญ แบ่งปริมาตรน้ำที่ควรได้รับในแต่ละมือควบคุมการให้สาร์ละลายทางหลอดเลือดตำอย่างเข้มงวด
-
-
7.ชั่งน้ำหนักทุกวัน โดยใช้เครื่องชั่งเดิม เวลาเดิม ซึ่งมักชั่งในตอนเข้าหลังตึนนอน สวมเสื้อผ้าคล้ายของเดิม
8.จำกัดโซเดียมในอาหารและเคองดื่ม จัดให้รับประทานอาหารจำด ลดเกลือหรือจำกัดเกลือในอาหารจัดอาหารให้มีโปแดสเซียมเพียงพอต่อผู้ป่วย
พยาธิสภาพ
สมรรถภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง, เพิ่มการกระตุ้นที่ผนังหัวใจ
-
-