Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม 6.3…
บทที่ 6 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม
6.3 ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ
ความวิตกกังวลสูงช็อคทางอารมณ์กรีดร้องหรือร้องไห้ปัดมือไปมาพูดเร็วมากควบคุมอารมณ์ไม่ได้หายใจทีเร็วหน้าแดงคลื่นไส้อาเจียน
งงงวยปฏิกิริยาตอบสนองเชื่องช้าไม่มีกิจกรรมไร้จุดหมายเดินเตะเตร่หน้าซีดเขียวเหงื่อออกชีพจรเร็วความดันโลหิตต่ำหนาวผิวหนังชื้นคลื่นไส้อาเจียนเป็นลมหมดสติ
ลำดับขั้นของภาวะวิกฤต
1.ระยะก่อนวิกฤติ (precrisis peroid) บุคคลไม่มีความเครียดทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ระยะวิกฤติ (crisis peroid) เมื่อบุคคลพบว่าตนเองอยู่ใน ภาวะวิกฤติก็จะทาอะไรสับสน ยุ่งเหยิงจะแสดง ความวิตกกังวลออกมา รู้สึกหมดหนทาง
ระยะหลังวิกฤติ ( postcrisis peroid) ถ้ามีการแก้ไขปัญหาที่ เหมาะสมหลังวิกฤติ บุคคลจะได้รับประสบการณ์เพิ่มขึ้นมีทักษะในการ แก้ปัญหา
ความหมาย
ภาวะที่บุคคลเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหานั้นไม่ได้ ทาให้เกิด ความเครียด กดดัน วิตกกังวล ส้ินหวัง ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้เหมือนเดิม
ประเภทของภาวะวิกฤติ
2.วัยวิกฤติหรือการเจริญเติบโตเต็มที่ในแต่ละวัย(Maturation crisis)
วัยวิกฤติเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ ของกระบวนการเจริญเติบโต และพัฒนาการของชีวจิตสังคมควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงของความคิด ความรู้สึก และความสามารถ
ภาวะวิกฤติที่เกิดขึ้นจากภัยพิบัติ (Disaster Crisis)
ภัยพิบัติเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด อาจเกิดจากธรรมชาติหรือ มนุษย์สร้างขึ้นมาเอง เป็นเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความสูญเสีย ความเสียหาย ทาลายล้างและเกิดความตึงเครยี ดอย่างรุนแรงกับชุมชนที่ได้รับภัยพิบัต
สถานการณ์วิกฤติ (Situational crisis)
เกิดขึ้นเมื่อเหตุการณ์ภายนอกทำให้อารมณ์ไม่ดีเสียความสมดุลของจิตใจ เช่น เสียคนรัก เจ็บป่วย หย่าร้าง
การพยาบาล/การดูแลบุคคลผู้อยู่ในภาวะวิกฤติ (Crisis intervention)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล : (Nursing Diagnosis)
ผู้ประสบภัยมีปัญหาและอาการหลายอย่าง เช่น ตกตะลึง เงียบสงบหรืออยู่ไม่ ติดที่ พวกเขาอาจจะพูดจาชัดเจนหรือพูดพึมพา การแสดงออกต่างๆ ทาให้นามา พิจารณาให้ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้ดังตัวอย่างนี้
เสี่ยงต่อการกระทำรุนแรงต่อ ตนเอง
การเผชิญปัญหาไร้ประสิทธิภาพ
วิตกกังวล
การวางแผนช่วยเหลือ (Planning)
เมื่อได้พิจารณาถึงรายละเอียดและข้อมูลต่างๆ อย่างรอบคอบแล้ว จึงนามาประมวลเพอื่การตัดสินใจว่าอะไรควรเป็นทางออกที่ดีที่สดุของ ผู้รับบริการ
การประเมินปัญหา (Assessment)
การประเมินแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ประเมินแต่ละบุคคล ประเมินครอบครัวและ ประเมินสังคมวัฒนธรรมของผู้ประสบปัญหา
การดูแลช่วยเหลือ (intervention)
4.2 ให้การดูแลความช่วยเหลอื ทั่วๆ ไป (General support)
พยาบาลควรแสดงให้ผู้รับบริการเห็ว่าเขามีพยาบาลคอยช่วยเหลืออยู่ เคียงข้าง ให้ความรู้สึกอบอุ่นแก่ผู้รับบริการ ยอมรับและเห็นใจแบบมีความรู้สึก ร่วมด้วย (Empathy)
4.1 เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม (Environmontal manipulation) อาจจะต้องนาผู้รบั บริการออกมาจากสภาพแวดล้อมเดิม เพื่อลดความตึงเครยี ด
4.3 การช่วยเหลือในกลุ่มคนใหญ่ (Generic approach)
ในกรณีที่บุคคลหลายคนเผชญิ ภาวะวิกฤติในเรื่องเดียวกัน จะต้องช่วย โดยเพ่งเล็งทลี่ักษณะและชนิดของภาวะวิกฤติการให้ความช่วยเหลือต้องมุ่งคน ทั้งกลุ่ม โดยมุ่งให้การศึกษาแก่คนเ ป็นกลุ่มหรือคนจ านวนมากให้มีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับภาวะวิกฤติอางอารมณท์ี่เกิดขึ้นจากสถานการณ์ต่างๆ
การดูแลช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
การดูแลช่วยเหลือขนั้ ต้น คือข้อมูลข่าวสาร แผนการย้าย ออกจากพื้นที่ ความพยายามช่วยชีวิต แหล่งอาหาร ที่พัก อาศัยและยารักษาโรค
หลังการช่วยในระยะฉับพลบั ผู้ประสบภัยต้องการบ้าน งาน ช่วยฟื้นฟูเรอื่ งอารมณ์ใหก้ ลับสู่สภาพเดิม
A6480117 อิศรินทร์ อุทุมพันธ์