Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คู่มือตรวจสอบความเสี่ยงสถาบันการเงิน ส่วนที่ 1 คำนิยามของความเสี่ยงด้านกล…
คู่มือตรวจสอบความเสี่ยงสถาบันการเงิน ส่วนที่ 1 คำนิยามของความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
ความหมาย: ความเสี่ยงที่เกิดจากการกำหนดแผนกลยุทธ์ แผนดำเนินงาน และการนำไปปฎิบัติไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปัจจัยภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก ส่งผลต่อรายได้ เงินกองทุน และการดำรงอยู่ของกิจการ
แหล่งที่มาของ risk กลยุทธ์ (เป็นอุปสรรคของการดำเนินงานตามกลยุทธที่วางไว้
ภายนอก (สง ควบคุมยาก)
ภาวะการแข่งขัน
คู่แข่ง
ผลิตภัณฑ์ใหม่
ราคาแข่ง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกค้า
การเปลี่ยนของ tech
คู่แข่งพัฒนาระบบเครื่องมือที่ตอบโจทย์เทคโนโยยีกว่า
สง ต้องมั่นใจว่าเทคโนโลยีที่มี สามารถรักษาฐานลูกค้าได้
ปัจจัยทาง ศก
ข้อกำหนดของทางการ
ข้อกำหนด BOT, SET, ปราบปรามฟอกเงิน
ภายใน (สง ควบคุมได้)
โครงสร้างองค์กร
ไม่มีการแบ่งหน้าที่ทำงานชัดเจน ทำให้การทำงานขาดความอิสระ ไม่มีการถ่วงดุลอำนาจ
กระบวนการและวิธีปฎิบัติงาน
ไม่มีการกำหนดกระบวนการและวิธีปฎิบัติงานชุดเจน
ทำงานซ้ำซ้อนกัน ทำให้งานรายผลยาก และเพิ่มความผิดพลาดการรายงานผล
ความเพียงพอและคุณภาพของบุคลากร
ความเพียงพอของข้อมูล
ข้อมูลไม่พอ = รับรู้ไม่ทันการ รับรู้น้อย
เทคโนโลยี
ล้าสมัย = แพ้คู่แข่ง
ปัจจัยที่ช่วยลด risk กลยุทธ์
คุณสมบัติผู้บริหารระดับสูง
มีกรรมการอิสระตรวจสอบเพื่อสร้างความสมดุลการบริหารงาน
พร้อมตัดสินใจ
มีประสบการณ์ม เข้าใจภาวะตลาด ศก และการแข่งเป็นอย่างดี
การวางกลยุทธ์การดำเนินงาน
วางแผนชัดเจน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของภาพแวดล้อม
ระบบการบริหารความเสี่ยง
ต้องคำนึงถึงความเสี่ยงทุกประเภท
กำหนด
นโยบาย
และ
วิธีปฎิบัติงาน
และ
เพดานความเสี่ยง
ฐานลูกค้าที่มั่นคง
รักษาฐานลูกค้าได้ดี
การเป็นผู้นำด้านผลิตภัณฑ์/บริการ
คุณภาพของบุคลากรและการฝึกอบรม
การได้รับข้อมูลด้านต่าง ๆ เพียงพอ
เพื่อเสนอผลิตภัณฑ์ได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย
แก้ปัญหาได้ทันท่วงที
คู่มือตรวจสอบความเสี่ยงสถาบันการเงิน ส่วนที่ 2 แนวทางการจัดการความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ที่พึงปฎิบัติ
การควบคุมดูแลโดยกรรมการสง. ระดับสูง
การบริหาร risk ด้านกลยุทธ์
ระบุและวัด risk
หน้าที่ของคณะกรรมการ
การจัดอัตรากำลัง
การจัดองค์กร
การวางแผลกลยุทธ์
การสั่งการ
การควบคุมและติดตามการปฎิบัติงาน
กระบวนการวางแผลกลยุทธ์
การมีส่วนร่วมของบุคลากรจากฝ่ายงานต่าง ๆ
ความเพียงพอของข้อมูลที่ใช้จัดทำสมมติฐาน
สถานะของสง เทียบกับคู่แข่ง
ภาวะการแข่งขันในปัจจุบันและแนวโน้มของตลาด
ส่วนแบ่งตลาดตามประเภทผลิตภัณฑ์
ความต้องการของลูกค้า
โครงสร้างประชากร
รายได้
พฤติกรรม
ปัจจัยทาง ศก
การไม่กำหนดอัตราการเติบโตของสินเชื่อที่เหมาะ
การไม่ประมาณ NPL ที่เพิ่ม
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมาย และผู้บริหารระดับสูง
ค.สอดคล้องของแผนดำนเินงานกับวัตถุประสงค์รวมของสง.
ค.เป็นไปได้ของแผนกลยุทธ์
การประเมินผลการดำเนินงานจริงเทียบกับแผนกลยุทธ์
กระบวนการจัดทำแผนดำเนินงานและงบประมาณ
top-down: คณะกรรมการทำแผน ข้อดีคือ ไว ข้อเสียคือไม่สะท้อนความจริง
bottom-up: แต่ละฝ่ายงานทำแผนแล้วรวมเป็นแผนกลยุทธ์ ข้อเสียคือปฎิบัติได้ยากกว่าแบบ top-down
ติดตามและรายงานความเสี่ยง
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS)
รายงานการติดตาม
ควบคุมความเสี่ยง
ระบบควบคุมความเสี่ยง
การสอบทานผลิตภัณฑ์ใหม่
ลักษณะ , เหมือนอันเก่าไหม, กลุ่มเป้าหมาย
นโยบาย ขั้นตอนการบริหารrisk และเพดาน
มาตรฐานหรือเกณฑ์(กำไร)ขั้นต่ำในการพิจารณาผลิตภัณฑ์ใหม่
คุณภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน: เช่นแบ่งหน้าที่ชัดเจนไหม, สายบังคับบัญชา
แผนการสร้างผู้บริหารทดแทนและการฝึกอบรม
การวางแผนรองรับการดำเนินธุรกิจ
คู่มือตรวจสอบความเสี่ยงสถาบันการเงิน ส่วนที่ 3 แนวทางการตรวจสอบ
วัตถุประสงค์การตรวจสอบ
ให้มั่นใจว่ามีหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม
: เป็นอิสระจากหน่วยงานที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ให้มั่นใจว่าคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายและผู้บริหารระดับสูง
บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
จัดให้มีระบบพัฬนาและฝึกอบรมพนักงานเพียงพอ
จัดเตรียมแผนรองรับการดำเนินธุรกิจเพียงพอ
ประเมินคุณภาพของระบบการบริหารความเสี่ยง
: เพียงพอที่จะสนับสนุนและควบคุมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
ประเมินระดับความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
: จากการวิเคราะห์ภาวะศกม ความสามารถในการแข่งขัน การสอบทานแผนกลยุทธ์ การดำเนินและปฎิบัติงานของฝ่ายบริหาร
ขอบเขตการตรวจสอบ
การประเมินระดับความเสี่ยง
มั่นใจว่าสง. มีหน่วยงานหรือบุคคลรับผิดชอบในการจัดทำแผนกลยุทธ์อย่างชัดเจน
สอบทานว่าแผนกลยุทธ์ที่ได้รับอนุมัติจากกรรมการนั้นทุกฝ่ายมีส่วนร่วมเข้าประชุมเสมอ
สอบทานกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์
ความชัดเจนของวิธีการติดตามการปฏิบัติงาน
สาเหตุและผลกระทบจากการที่ไม่สามารถบรรลุแผนงานและงบประมาณ
ประเมิน
โอกาส
และ
อุปสรร
ที่สำคัญ
จุดแข็งจุดอ่อนขององค์กร
มีการสื่อสารในช่วง
ระหว่างจัดทำ
และ
ภายหลังจัดทำ
อย่างทั่วถึง
สง. มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ risk ที่ส่งผลต่อฐานะ ผลการดำเนินงาน และการดำรงอยู่
ลักษณะของแผนกลยุทธ์และแผนดำเนินงานโดยรวมในประเด็นที่สำคัญ
สอดคล้องเป้าหมายองค์กร
สอดคล้องแผนกลยุธ์และครอบคลุมทุกสายงานธุรกิจ ทั้งฝ่ายบริหารและจัดการทรัพยยากร
มีความชัดเจน นำไปปฎิบัติได้
จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร
ความเป็นไปได้ของแผนกลยุทธ์และแผนดำเนินงาน
น่าเชื่อถือ สมเหตุสมผล กำหนดสมมติฐาน
ความสอดคล้องของแผนกลยุทธ์กับผลวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
เทียบระหว่างผลปฎิบัติงานที่เกิดจริงกับแผนกลยุทธ์ เช่น กำไรต่ำกว่าประมาณรายได้และรายจ่ายสูงมาก
โครงสร้างบุคลากรสายงานธุรกิจ
แบ่งแยกหน้าที่ชัดเจน
สอบทานการถ่วงดุลอำนาจ
รายงานผลตามสายที่บังค้บบัญชาจริง
อำนาจการตัดสินใจเป็นไปตามโครงสร้างและความรับผิดชอบ ไม่มีการถูกครอบงำโดยผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้น
การเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาด
สอดคล้องแผนกลยุทธ์
กระบวนการและหลักเกณฑ์เสนอเป็นทางการมีผู้มีอำนาจและหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง
ฝ่ายงานมีส่วนรวมในการพิจารณา
คำนึงถึงความเสี่ยงทุกด้าน รวมถึงอบรมให้พนักงานมีความพร้อมในการเสนอผลิตภัณฑ์
การประเมินการจัดการความเสี่ยง
ประเมินความเหมาะสมของกรรมการ/ผู้บริหาร ต่อลักษณะองค์กร ความเอาใจใส่ + รับผิดชอบ
ฝ่ายบริหารต้องมีประสบการณ์ ความรู้ ความชำนาญ ศักยภาพ ในการปฎิบัติงานตามแผลกลยุทธ์
คณะกรรมการ/ผู้บริหารระดับสูง มาจากหลายสาขาความรู้
แนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลต้องชัดเจน สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์
การฝึกอบรม
ผลตอบแทนที่เหมาะ/ เป็นธรรม
ประเมินผลการควบคุมการปฎิบัติและการทบทวนแผนกลยุทธ์ แผนดำเนินงาน และงบประมาณ
มีหน่วยงาน/บุคคลรับผิดชอบชัดเจน
มีวิธีการและเครื่องมือติดตามผลที่มีประสิทธิภาพ
ประเมินผลการควบคุมการปฎิบัติตามแผนดำเนินงานเพื่อทราบความคืบหน้าอย่างสม่ำเสมอ
ทบทวนแผนดำเนินงานและงบประมาณอย่างสม่ำเสมอ +แนวทางการแก้ไข
มีระบบข้อมูลและรายงานคณะกรรมการ
ถูกต้อง ครบถ้วน ทันการ
การปฎิบัติตามแผลกลยุทธ์
risk ประเภทต่าง ๆ + limit risk (เพดานความเสี่ยง)
รายงานฐานะการเงิน ปจบ+แนวโน้ม
วิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกที่อาจส่งผลกระทบ
รายงานความคืบหน้าของการประชุมที่เกี่ยวกับเป้าหมายการดำเนินงานและงบประมาณ
สื่อสารแผนกลยุทธ์ไปยังพนักงานทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
ระบบบริหารความเสี่ยงที่มี ปสภ. ครอบคลุมความเสี่ยงทุกด้าน
กำหนดเพดานความเสี่ยง
มีหน่วยงานตรวจสอบติดตามแยกออกมา
ทบทวนและปรับปรุงระบบบริหารความเสี่ยง การวัดติดตาม
กรรมการ/ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญและสนับสนุนการตรวจสอบภายในด้านบัญชีและ back office อย่างเพียงพอ
โครงสร้างองค์กรและตำแหน่งสำคัญรองรับการปฎิบัตตามแผนกลยุทธ์
มีแผนรองรับการดำเนินธุรกิจสำหรับความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ชัดเจน