Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การถ่ายทอดเทคโนโลยี - Coggle Diagram
บทที่ 6
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
หรือการถ่ายโอนเทคโนโลยี เป็น
กระบวนการไหลของเทคโนโลยีจากผู้ให้ไปยังผู้รับผู้ให้ก็คือเจ้าขององค์ ความรู้หรือผู้ถือสิทธิ์ในองค์ความรู้นั้น
6.1 ประเภทของเทคโนโลยีสามารถแบ่งประเภทของเทคโนโลยีได้5ประเภท ดังนี้
1.การถ่ายทอดเทคโนโลยีระดับนานาชาติ
เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีข้ามประเทศโดยมากมักเป็นการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศที่พัฒนาแล้วไปสู่ประเทศกำลังพัฒนา
2.การถ่ายทอดเทคโนโลยี
ระดับภูมิภาคหรือระดับท้องถิ่น
เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากภาคหนึ่งไปยังอีกภาค
หนึ่งของประเทศเช่นการค้นพบวัสดุเก็บแสงได้ดีกว่าโซล่าในเมือง
3.การถ่ายทอดเทคโนโลยี
ระหว่างอุตสาหกรรม
เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากอุตสาหกรรมหนึ่งไปยังอีกอุตสาหกรรมหนึ่งเช่นการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากโครงการวิจัยอวกาศไป
4.การถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่าง
บริษัท
เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัทหนึ่งไปยังอีกบริษัทนึงตัวอย่างเช่นการถ่ายทอดความเชียวชาญด้านการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์จากบริษัทผู้ผลิตเครื่องจักรไปสู่บริษัทผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์
5.การถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่าง
บริษัท
เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีภายในบริษัทจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งหรือจากสาขาหนึ่งไปอีกสาขาหนึ่งหรือจากหน่วยงานหนึ่งไปหน่วยงานอื่น
6.2 ช่องทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ช่องทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการไหลของเทคโนโลยีจากทีหนึ่งไปอีกที่หนึ่ง อาจทำได้หลายช่องทางดังนี้
1. ช่องทางทั่วไป
ช่องทางทั่วไปการถ่ายโอนเทคโนโลยีกระทำโดยไม่ได้
ตั้งใจและอาจเกิดขึ้นต่อไปโดยแบ่งผู้ให้ไม่ได้เกี่ยวข้องอีกการให้ข้อมูลแก่สาธารณะจะเป็นไปโดยไม่มีข้อจำกัดหรือมีข้อข้อจำกัดเล็กน้อย
2. ช่องทางวิศวกรรมย้อนรอย
ช่องทางวิศวกรรมย้อนรอยเป็นอีกช่องทางหนึ่งของการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยไม่มีการร่วมมืออย่างตื่นตัวจากแหล่งผู้ให้
3. ช่องทางที่ผ่านการวางแผน
ช่องทางที่ผ่านการวางแผนเป็นการถ่ายโอนเทคโนโลยีด้วย
ความจงใจโดยมีกระบวนการวางแผนและผ่านความยินยอมของเจ้าของเทคโนโลยีและสามารถถ่ายโอนได้หลายแบบได้แก่
ก.ใบอนุญาต
ข. แฟรนไชส์
ค. การร่วมทุน
ง. โครงการเทิร์นคีย์
จ. การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ฉ. ความร่วมมือในงานวิจัย
องค์ประกอบสำคัญของการวัดความสำเร็จของกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
โดยมีเหตุผลสำคัญอยู่ 3 คือ
1. เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับโครงการถ่ายโอน
เทคโนโลยีกิจกรรมใดๆที่ได้รับความช่วยเหลือจากแหล่งทุนสาธารณะจำเป็นต้องมีความน่าเชื่อถือในสายตาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2. เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกใน กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การอำนวยความสะดวกให้กับกระบวนการถ่ายโอนเทคโนโลยีในการดำเนินโครงการใดๆก็ตามสามารถเรียนรู้ได้
จากทั้งความสำเร็จและความล้มเหลวของโครงการ
3. เพื่อให้มองเห็นมูลค่าที่เกิดขึ้นของโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี
มูลค่าของโครงการในการถ่ายโอนเทคโนโลยีนั้นฝ่าย
บริหารทุกระดับมักจะต้องทราบว่าผลที่ได้บรรลุเป้าหมายหรือไม่ดังนั้นจึงต้องมีตัวชี้วัดที่ใช้ประเมินความสำเร็จของโครงการ
6.4 ตัวชี้วัดความสำเร็จระหว่างดำเนินโครงการในการถ่ายโอน
เทคโนโลยีมีได้ดังต่อไปนี้
1. องค์กรกลุ่มเป้าหมายที่มีโอกาสได้ใช้เทคโนโลยี
2. จำนวนองค์กรที่เข้าร่วมในงานสัมมนาหรือ
การฝึกอบรมเมื่อเทียบกับกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้
3. ความสนใจและความพึงพอใจที่ได้จากการ
ประเมินของผู้เข้าร่วม
4. ความตั้งใจที่จะเข้าร่วมต่อไปในอนาคต
5. การติดตามผลจากผู้เข้าฟังเมื่อเวลาผ่าน
ไปประมาณ 3 ถึง 6 เดือนหลังการฝึกอบรมเพื่อติดตามผลระยะสั้น
6.5 ตัวชี้วัดความสำเร็จในการถ่ายโอนเทคโนโลยี
ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าการถ่ายโอนเทคโนโลยีจะถือว่าประสบความสำเร็จก็ต่อเมื่อผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการนั้นสร้างผลกำไรขึ้นส่วนบางคนอาจมองว่าหากมีการพิจารณาโอกาสสำหรับนำไปใช้งานก็ถือว่าความสำเร็จได้เกิดขึ้นแล้ว
การพิจารณามิติเหล่านี้จะช่วยให้องค์กรสร้างตัวชี้วัดที่
สะท้อนถึงความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นได้อย่างแม่นยำ
กลไกการถ่ายโอนเทคโนโลยี
การถ่ายโอนเทคโนโลยีสามารถกระทำโดยกลไกที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการก็ได้
2.ช่วงเวลาที่มีการถ่ายโอนเทคโนโลยีโดยทั่วไปการถ่ายโอนเทคโนโลยีมักเป็นกระบวนการที่ใช้เวลายาวนานดังนั้นตัวชี้วัดจะต้องเหมาะสมกับช่วงเวลาที่ต้องการเก็บข้อมูลด้วย
ผลที่เกิดขึ้นองค์ประกอบที่ 3 ของการวัดความสำเร็จในการถ่ายโอนเทคโนโลยีคือผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์สนใจกับผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์เนื่องจากต้องการทำนายยอดขายลดต้นทุน