Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการตรวจสอบแบบเน้นธุรกรรมที่สำคัญ(SA)ของสถาบันการเงิน - Coggle Diagram
แนวทางการตรวจสอบแบบเน้นธุรกรรมที่สำคัญ(SA)ของสถาบันการเงิน
ส่วนที่ 1
หลักการที่สำคัญ
หลักการที่ 2 :
คาดการณ์อนาคตและแก้ไขก่อนเกิดความเสียหายจริง (Forward-Looking, Early Intervention)
: รประเมินความเสี่ยงเป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตที่อาจส่งผลเชิงลบต่อ สง. ซึ่งจะท าให้พบสัญญาณของปัญหาได้อย่างรวดเร็ว และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันกาล
หลักการที่ 3 :
ใช้ดุลพินิจอย่างสมเหตุผล (Sound Predictive Judgment)
การประเมินความเสี่ยงส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจ (Judgment) ของผู้ตรวจสอบ ดังนั้น ผู้ตรวจสอบจึงควรใช้ดุลพินิจที่มีหลักการและมีเหตุผลน่าเชื่อถือเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจที่ถูกต้องเหมาะสม
หลักการที่ 4 :
เข้าใจปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง (Drivers of Risk)
: ในการประเมินความเสี่ยง ผู้ตรวจสอบต้องเข้าใจปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงที่มีนัยส าคัญ (Driver of Material Risk) โดยต้องท าความเข้าใจ Business Model ของ สง. ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ แผนกลยุทธ์ และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) รวมทั้งสภาวะแวดล้อมภายนอก ตลอดจน โอกาสในการเกิดความเสี่ยงและความรุนแรง ของปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้สามารถแก้ไขได้ทันเวลา
หลักการที่ 5 :
การแยกพิจารณาระหว่าง Inherent Risk และ Risk Management
: การประเมินความเสี่ยงต้องแยกพิจารณาระหว่างความเสี่ยงที่มีอยู่ในธุรกรรม (Inherent Risk) กับการบริหารความเสี่ยงของธุรกรรมนั้น ๆ (Quality of Risk Management) ทั้งในระดับการปฏิบัติงานประจ าวันและระดับควบคุมดูแล ซึ่งการพิจารณาแยกกันนี้ จะท าให้สามารถก าหนดระดับการจัดการความเสี่ยงที่สอดคล้องกับ Inherent Risk รวมทั้งก าหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
หลักการที่ 6 :
เป็นกระบวนการที่มีความยืดหยุ่น (Dynamic Adjustment)
: การประเมินความเสี่ยงต้องท าอย่างต่อเนื่องและยืดหยุ่นเพียงพอ สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายในและภายนอก ตลอดจนความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปของ สง. จึงต้องมีการทบทวนความมีนัยส าคัญของแต่ละธุรกรรม และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
หลักการที่ 7 :
เป็นการประเมินสถาบันการเงินแบบภาพรวมทั้งองค์กร (Assessment of the whole institutions)
: การประเมิน สง. จะเป็นการประเมินแบบองค์รวม โดยพิจารณาการบริหารความเสี่ยงของ ธุรกรรมที่ส าคัญในภาพรวม (Overall net risk) ร่วมกับความสามารถในการหารายได้ เงินกองทุน ธรรมาภิบาลและการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ ธปท. เพื่อจัดระดับ Composite Rating ของ สง. นั้น ๆ
หลักการที่ 1 :
เน้นความเสี่ยงหลัก (Focus on Material Risk)
จะประเมินเฉพาะ ความเสี่ยงที่มีนัยส าคัญ (Material Risk) ที่อาจส่งผลกระทบความสามารถในการหารายได้ และเงินกองทุนของ สง.
ตารางประเมินความเสี่ยงธุรกรรมที่สำคัญ Risk Matrix Assessment
ส่วนที่ 2: แนวทางการประเมินความเสี่ยงของธุรกรรมที่สำคัญ
รพิจารณาว่าธุรกรรมใดเป็นธุรกรรมที่ส าคัญของ สง. สามารถพิจารณาได้จาก Business Model การก าหนดเป้าหมายและแผนกลยุทธ์ รายการที่แสดงในงบการเงิน รวมทั้งการจัดโครงสร้าง องค์กร ระบบการบริหารความเสี่ยง และระบบงานต่าง ๆ ที่รองรับการท าธุรกรรมและการปฏิบัติงานของ สง. โดยนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการวิเคราะห์และพิจารณาความมีนัยส าคัญของแต่ละธุรกรรมที่จะมี
ผลกระทบต่อการดำเนินงาน และเงินกองทุนของ
สง
1.การระบุธุรกรรมที่สำคัญ (Significant Activities Identification)
ธุรกิจหลักของ สง. (Line of Business) เช่น เงินให้สินเชื่อ (Corporate, SMEs และ Retail) เงินลงทุน ตราสารอนุพันธ์ เป็นต้น
กระบวนการด าเนินงานหลักของ สง. (Institution-wide Process) เช่น การบริหาร เงิน ระบบ IT และการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน เป็นต้น
หน่วยธุรกิจหรือบริษัทในเครือ (Business Unit) เช่น สาขาต่างประเทศ และบริษัท ในเครือ เป็นต้น
ปัจจัยที่ใช้ในการก าหนดว่าธุรกรรมใดที่มีนัยสำคัญ
ปัจจัยเชิงปริมาณ : ร้อยละของปริมาณธุรกรรมเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม สินทรัพย์เสี่ยง และ รายได้รวม ปัจจัยเชิงคุณภาพ : เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ การวางแผนขยายธุรกิจ ผลกระทบต่อ Brand Value หรือ ชื่อเสียง ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยเฉพาะกระบวนการด้านสินเชื่อ (Credit Process) ระบบ IT ที่รองรับการด าเนินธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต
การประเมินความเสี่ยงของธุรกรรมที่สำคัญ
2.1 ความเสี่ยงที่มีอยู่ในธุรกรรมที่สำคัญ (Inherent Risk : IR)
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ
: ที่เกิดจากการก าหนดนโยบายและแผนกล ยุทธ
ความเสี่ยงด้านเครดิต
: ที่เกิดจากการที่ลูกหนี้ไม่สามารถปฏิบัติ ตามสัญญาในการชำระหนี้
ความเสี่ยงด้านตลาด
: เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ราคาตราสารทุน และราคาสินค้าโภคภัณฑ
ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
: จากการที่ สง. ไม่สามารถช าระ หนี้สินและภาระผูกพันเมื่อถึงก าหนด เนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสดได้ หรือไม่สามารถ จัดหาเงินทุนได้เพียงพอ
ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ
: จากความไม่เพียงพอหรือความบกพร่องของกระบวนการทำงาน บุคลากร และระบบงานของ สง.
2.2 คุณภาพการจัดการความเสี่ยง (Quality of Risk Management: QRM)
ระดับการปฏิบัติงานประจำวัน (Operational Management: OM) ของแต่ละ SA
โครงสร้างองค์กรของหน่วยธุรกิจ
นโยบาย แนวปฏิบัติ และคู่มือการปฏิบัติงาน
เครื่องมือและระบบงาน
พนักงานและการฝึกอบรม
พนักงานและการฝึกอบรม
ระดับควบคุมดูแล (Oversight Functions: OF)
ด้านการปฏิบัติงาน
กผลการปฏิบัติงานในแต่ละธุรกรรมที่ส าคัญ
ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของทุกธุรกรรมที่ส าคัญ
ด้านคุณลักษณะโดยทั่วไป
เช่น โครงสร้าง คุณสมบัติ และบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบโดยพิจารณาคุณลักษณะในภาพรวม
2.3 ความเสี่ยงสุทธิ (Net Risk) และแนวโน้มความเสี่ยง (Direction of Net Risk)
การบริหารความเสี่ยงของธุรกรรมที่ส าคัญ (Overall Net Risk)
การจัดระดับความเสี่ยง (Risk Rating)