Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเศร้าโศกจากการสูญเสียคู่ชีวิต - Coggle Diagram
ภาวะเศร้าโศกจากการสูญเสียคู่ชีวิต
กลไกการเกิดโรค
ผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุรถคว่ำ ขณะนั้งรถปิคอัพเพื่อลงจาก ดอยอ่างขางหมอกลงจัด สามีผู้ป่วยมองไม่เห็นรถสวนขึ้นมาจึงขับรถเลาะขอบถนน จากอุบัติเหตุรถคว่ำทำให้สามีของผู้ป่วยเสียชีวิต
อาการและอาการแสดง
ำ
แพทย์วินิจฉัยว่ามีกระดูกสันหลังบริเวณคอท่อนที่6 และ 7 หัก มีกระดูกสะโพกข้างขวาเคลื่อน ช้อมือขวาหัก กระดูกซี่โครงขวาซี่ที่ 2-7 หัก และกระดูกซี่โครงซ้ายซี่ที่ 1-5 หัก แพทย์ได้ใส่ท่อระบายทรวงอกให้ที่อกข้างขวา และใส่ slab ที่แขนและขาขวาไว้
แนวคิดที่เกียวข้อง
แนวคิดของพอตเตอร์และเพอร์รี่พบว่า ผู้ป่วยสูญเสียสามีซึ่งเป็นบุคคลสำคัญสำหรับผู้ป่วย และเมื่อพิจารณาปฏิกิริยาเศร้าโศกจากการสูญเสียโดยใช้ สามีเสียชีวิต ผู้ป่วยมีปฏิริยาเศร้าโศกจากการสูญเสียในระยะที่ห้า คือยอมรับการสูญเสียสามีอย่างสงบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสูญเสีย/เศร้าโศก
สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือไว้วางใจ
สร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพแบบ 1:1
พูดคุยทักทายสม่ำเสมอ และพอเหมาะ
พยาบาลมีท่าทีสงบ มั่นคง และให้ความรู้สึกร่วม (Empathy)
ไม่แสดงท่าทีคุกคาม ตำหนิ วิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
ส่งเสริมให้ลดความรู้สึกเศร้าโศกลง
ให้เวลาผู้ทุกข์โศกได้ระบายอารมณ์ศร้า เสียใจ ให้รู้สึกว่าพยาบาลยอมรับต่อการแสดงความเศร้าโศก เสียใจ ร้องไห้
สร้างบรรยากาศและเปิดอกาสให้มีการสื่อสารด้านอารมณ์ ความรู้สึกกคิดอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา
ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อให้ได้รับรู้ความรู้สึกของตนเอง เช่น "คุณรู้สึกเศร้าเสียใจ"
ให้กำลังใจและกระตุ้นให้ได้แสดงอารมณ์และความรู้สึกต่อสิ่งสูญเสียมากกว่าที่สนับสนุนให้เลิกคิดถึง
ส่งเสริมการสร้างและความดาดหวังที่เป็นจริง
ใช้เทนิคช่วยให้ระบายความรู้สึกหมดหวังท้อแท้ใจ
สนับสนุนวิถีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม โดยเพิ่มกำลังใจและความพยายามค่อสู้กับความรู้สึกเศร้าโศก
กระดันให้ผู้เศร้าโศกเข้ารวมกิจกรรมต่างๆเพื่อหลีกเสียงการหมกมุ่นและเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจโดย
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการปาบัด
ดูแลให้อากาศถ่ายเทสะดวก สะอาดและปลอดภัย
มีแสงสว่างเพียงพอ และสงบปราศจากเสียงที่ดังหรือกระตุ้นเกินไป
สนับสนุนคำจนจิตใจของญาติ และส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ศร้โศกและญาติโดยอธิบายให้ญาติเข้าใจความรู้สึกและพฤดิกรรมของการแสดงออกและหนทางในการตอบสนองที่เหมาะสม
ป้องกันการเกิดปฏิกิริยาที่เศร้าโศกผิดปกติ
ฝาระวัง สังเกดอาการผิดปกติ เช่น มีอาการเศร้าซึมมากขึ้น ร่วมกับความวิตกกังวล
มีปฏิกิริยาถถอย ย่ำคิดย่ำหา โดยเฉพาะคิดฆ่าตัวตาย เป็นต้น
ดูแลช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน ส่งเสริมได้รับการพักผ่อน ได้อาหารที่เพียงพอแล:รักษาความสะอาดของร่างกาย
สรุป
จากอุบัติเหตุรถคว่ำทำให้สามีของผู้ป่วยเสียชีวิต เมื่อผู้ป่วยทราบว่าสามีเสียชีวิตแล้ว ผู้ป่วยยอมรับการเสียชีวิตของสามีโดยดุษฎี ผู้ศึกษาได้อธิบายเหตุผลและกล่าวถึงปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยยอมรับการสูญเสียสามีในครั้งนี้
ข้อมูลส่วนตัว
เพศหญิง
อายุ 44ปี
การศึกษา จบการศึกษาระดับปริญญาโท
มีบุตรจำนวน 2คน