Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย เพศชาย อายุ51ปี แผนกผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม, นางสาวปิยะวรรณ พันขาม…
ผู้ป่วย เพศชาย อายุ51ปี
แผนกผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน Acute Respiratory Distress Syndrome (ARDS).
พยาธิสภาพ
ปอดได้รับการติดเชื้ออย่างรุนแรงเฉียบพลัน
ปอดมีการกำซาบลดลง
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
เกิดกรดแล็กติก
การอักเสบ
น้ำรั่วออกจากผนังหลอดเลือดฝอย เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์และถุงลม
ถุงลมบวมน้ำ alveolar edema
1 more item...
ของเหลวคั่งในถุงลม
อาการ
หายใจลำบาก หายใจเร็วตื้น
มีการหลั่งของสารออกมาส่งผลให้ทำลายเนื้อเยื่อและหลอดเลือดปอด
ภายในถุงลมมีน้ำ เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และโปรตีนมาก ทำให้เกิดการทำลาย alveolar cell
สาเหตุ
มีการติดเชื้อที่ปอด
ช็อกจากการติดเชื้อ
การเกิด Embolism ทั้งไขมัน อากาศ น้ำคร่ำ และ Thrombotic
ยา
Vitamin B1 100 mg v q 8 hr.
อาการไม่พึ่งประสงค์ แน่นหน้าอก คลื่นไส้ กระสับกระส่าย ผื่นลมพิษ
ไม่เก็บยาบริเวณที่เปียกหรือชื้น
ป้องกันและรักษาภาวะขาดวิตามินบี1
Omeprazole 40 mg v OD
อาการไม่พึ่งประสงค์ บวมที่หน้า เปลือกตา หายใจลำบาก ผื่นแดงขึ้น
เก็บยาที่อุณหภูมิไม่เกิน 30 องศา
ใช้เพื่อป้องกันหรือรักษาแผลในกระเพาะอาหาร รักษาอาการจุกเสียดเเน่นท้อง
Insulin (NPH) 8 u sc
อาการไม่พึงประสงค์ น้ำตาลในเลือดต่ำ ปวดบริเวณที่ฉีด ผื่นแพ้ คัน
เก็บรักษายาในตู้เย็นช่องธรรมดา 2-8 องศา
ใช้ลดน้ำตาลในเลือด
Meropenem 500 mg v OD
รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการไม่พึ่งประสงค์ ท้องเสีย กลืนอาหารหรือหายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว
Lasix 1 g v in 24 hr.
อาการไม่พึ่งประสงค์ หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก มีเลือดออกตามร่างกาย
ขับปัสสาวะ ลดอาการบวมน้ำ
Fentanyl 10:1 e 5ml/hr.
บรรเทาอาการปวด ระงับความรู้สึก
อาการไม่พึ่งประสงค์ ง่วงซึม สับสน มึ่นงง สั่น
Hydrocotisone 100 mg v in 24 hr.
รักษาการอักเสบ
อาการไม่พึ่งประสงค์ หายใจไม่อิ่ม ไอเป็นเลือด ความดันโลหิตสูง
CC
= จุกแน่นท้อง 11 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล
PI
= 11ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล ปวดจุกแน่นท้อง ตัวตาเหลือง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
โรคประจำตัว
= DM
FM
= แม่เป็น DM น้องเป็น thalassemia
ผู้ป่วย on ET- Tube c ventilation VCV mode TV400 Flow 50 RR 20bpm. O2sat 98% V/S HR 88 bpm. BP 144/78 MAP 90mmHg.On NG for feed Retrain Foley’s cath o bag.E3M3VT วันที่22 พย 64 เวลา13.00น
วินิจฉัยแรกObstructive Jaundice ท่อทางเดินน้ำดีอุดตัน
สาเหตุ
เมื่อท่อน้ำดีอุดตัน
น้ำดีจะไหลย้อนไปที่ตับ
เข้าสูกระแสเลือดไหลผ่านไปทั่วแรงกาย
ไปที่เยื่อบุตาตาส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการตัวตาเหลือง
ซึ่งอาจทำให้มีอาการติดเชื้อได้
พยาธิสภาพ
เมื่อมีนิ่วอุดกั้นท่อน้ำดี
ทำให้ความดัน
ในท่อน้ำดีเพิ่มขึ้น
ถุงน้ำดีและท่อน้ำดีบีบตัวแรงเพื่อขับน้ำดี
จึงเกิดอาการปวดท้อง (ท้องบิด)
จากการอุดกั้นของนิ่วที่ไปขัดขวางในการไหลของน้ำดี
ทำให้บิลิรูบินคั่งในเซลล์ตับและถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด
1 more item...
อาการ
ตัวตาเหลือง
มีไข้
ปัสสาวะสีเข้ม
อุจจาระซีด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีภาวะดีซ่าน
การรักษา
ส่องกล้องตรวจท่อทางเดินน้ำดีและท่อตับอ่อน(ERCP)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ความทนต่อกิจกรรมลดลง เนื่องจากมีการคั่งของของเสียในร่างกาย อ่อนเพลีย เมื่อยล้า
มีภาวะน้ำเกิน ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
เสียงต่อภาวะสูญเสียความสมบูรณ์ของผิวหนัง เนื่องจากการเคลื่อนไหวลดลง
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น แผลกดทับ เนื่องจากการเคลื่อนไหวลดลง
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วันที่ 22/11/2021
Prothombin Time = 15.1 ⬆️
Chloride = 94 mmol/L ⬇️
INR = 1.31 ⬆️
eGFR = 9.50 ml/min ⬇️
Partial Thomboplastin Time = 30.2 ⬆️
Creatinine = 6.23 mg/dL⬆️
Monocyte2.4% ⬇️
BUN = 74 mg/dL⬆️
Eosinophil 0.3 ⬇️
MCH = 17.8 pg ⬇️
MCHC = 39.7 g/dL⬆️
MCV = 44.8 fL⬇️
Hematocrit =18.4 %⬇️
Hemoglobin = 7.3 g/ dL ⬇️
RBC = 4.11 10^6/uL ⬇️
WBC =15.3 10^3/uL ⬆️
Lymphocyte 5.3 %⬇️
Neutrophil 91.9% ⬆️
ข้อวินิจฉัยการพยาบล
การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากเสมหะออกมากและข้น
สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวและความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากภาวะขาดออกซิเจน
การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากถุงลมและผนังหลอดเลือดฝอยผิดปกติจาก surfactantลดลง
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อเนื่องจากภูมิต้านทานลดลง
การกำซาบเนื้อเยื่อปอดไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากเนื้อเยื่อปอดบาดเจ็บและปฏิกิริยาของการอักเสบในถุงลมรอบๆ
ไตวายเฉียบพลัน Acute kidney injury
พยาธิสภาพ
มีความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
ไตขาดเลือดไปเลี้ยง
หลอดเลือดไตหดตัว
อัตราการกรองของไตลดลง
มีการคั่งของสารไนโตรเจน
เกิดไตวายเฉียบพลัน
เซลล์ถูกทำลาย
ท่อไตอุดตัน
เซลล์หลุดลอกและมีการอุดตัน
อัตราการกรองลดลง
สาเหตุ
การสูญเสียเลือดหรือน้ำเร็วเกินไป
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
การติดเชื้อ
อาการ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ซึมลง
บวม เหนื่อยง่าย
ปัสสาวะออกลดลง
การรักษา
ผู้ป่วยได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม(Hemodialysis)จนกว่าการทำงานของไตจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
อ้างอิง
วิจิตรา กุสุมภ์ และคณะ(2556)การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม พิมพ์ครั้งที่5 กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย์
ปราณี ทู้ไพเราะ(2556)คู่มือยา พิมพ์ครั้งที่13กรุงเทพฯ:N P Press Limited Partnership
สุจินดา ริมสีทอง(2550)พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล พิมพ์ครั้งที่2 กรุงเทพฯ:บริษัทสามเจริญพาฌิชย์ จำกัด
สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ(2557)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต พิมพ์ครั้งที่ 8 ขอนแก่น: ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา
การรักษา
แก้ไขภาวะพร่องO2
รักษาความสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์
นางสาวปิยะวรรณ พันขาม เลขที่49 รหัสนักศึกษา62128301049