Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 12
จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด ทฤษฎี ทางจิตวิทยา
และมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีแรงจูงใจ
- เน้นเนื้อหาของการจูงใจ
- เน้นกระบวนการจูงใจ
ทฤษฎีการสื่อสาร
- ทฤษฎีการสื่อสาร SMCR
- ทฤษฎีการสื่อสารของแซนนันและวีเวอร์
- ทฤษฎีการสื่อสารของชแรมม์
มนุษยสัมพันธ์
ความหมาย
การติดต่อเกี่ยวข้องระหว่างบุคคล
เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน
ความสำคัญ
ทำให้มีความสุขในการ
ดำเนินชีวิตในสังคม
ทฤษฎีการเรียนรู้
- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์ทางปัญญานิยม
จิตวิทยา
ความหมาย
คือ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
พฤติกรรมและกระบวนการทางจิต
ความสำคัญ
ช่วยให้บุคคล รู้จักเข้าใจ ยอมรับ
ในตนเองและผู้อื่นมากขึ้น
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประโยชน์
- สามารถเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย
- ทำให้เกิดความสำเร็จในงาน
- เชื่อมโยงให้เกิดการทำงานร่วมกัน
- ทำให้สังคมมีคุณภาพ
แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- การสนใจในตัวบุคคลอื่น
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การยิ้มแย้มแจ่มใส
- การรู้จักถ่อมตัว
- การจดจำบุคคล
- การพูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ
- การรู้จักยกย่องบุคคลอื่น
- การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
ความสำคัญ
- ช่วยให้นักส่งเสริมเข้าใจตนเองและผู้อื่น
- ทำให้เกิดการพัฒนางานส่งเสริม
- ทำให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ
การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎี
ทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
การประยุกต์ทางจิตวิยา
- การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการจูงใจ
- การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
- การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติ
หลักกการใช้จิตวิทยาในงานส่งเสริม
- เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
- ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ของเกษตรกร
- คำนึงความพร้อมที่จะเรียนรู้
- ตระหนักถึงความมุ่งหมายของการเรียนรู้
- เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรรายบุคคล
- เข้าใจหลักการการทำงานกับเกษตรกรรายกลุ่ม
- เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรแบบมวลชน
การประยุกต์ทางมนุษยสัมพันธ์
- ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
- ทฤษฎีความคาดหวัง
- ทฤษฎีความเป็นธรรม