Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CNS-acting drugs Pharmacology ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง - Coggle…
CNS-acting drugs Pharmacology
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
Antiepileptic drugs (AEDs)
กลไกการออกฤทธิ์
ปรับการทำงานของ ion channels ให้อยู่ในช่วง inactivation นานขึ้นเพื่อลด epileptogenic discharge
เพิ่มการทำงานของ GABA neurotransmission เพื่อให้เกิด inhibitory signaling ที่มากขึ้น ผ่านกระบวนการต่าง ๆ
ปรับการทำงานของ synaptic release ลดการทำงานของ synaptic excitation โดยการไป modulate การทำงานของตัวรับที่เกี่ยวข้องกับ excitatory neurotransmission
การแพ้ข้าม (cross-allergy) ของยากันชัก
มีการแพ้ข้ามในยากันชักที่มีโครงสร้างวงแหวนอะโรมาติก (aromatic ring-containing AEDS)
-PHENYTOIN
-CARBAMAZEPINE
-LAMOTRIGINE
-PHENOBARBITAL
analgesic
non-narcotic analgesic
พาราเซตามอล
-ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง prostaglandin และเพิ่ม threshold ของการรับรู้ความเจ็บปวด พาราเซตามอลไม่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ
-พาราเซตามอลไม่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ไม่ต้องขึ้นกับมื้ออาหาร
-ปรับลดขนาดยา พาราเซตามอล ที่ใช้แต่ละครั้งไม่ให้เกิน 650 มิลลิกรัม และขนาดยาสูงสุดต่อวันคือ 2,600 มิลลิกรัม
narcotic analgesics
-เป็น opioids และ/หรือ synthetic opioids ที่ออกฤทธิ์ระงับปวดผ่านทางตัวรับ opioids ซึ่งมีหลายชนิด (mu, kappa, sigma)
-ส่วนใหญ่ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดปานกลาง – รุนแรง มีหลายรูปแบบ กิน (ยาเม็ด ยาน้ำ) ฉีด แผ่นแปะ
ข้อควรระวังเมื่อใช้ narcotic analgesic
-เป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง [High Alert Drugs] cross-check และdouble check เสมอ
-Overdose ทำให้เป็นอันตรายถึงชีวิต ต้องตรวจติดตาม efficacy and toxicity parameters ก่อน-หลังให้ยาเสมอ
-Efficacy parameters; Pain score, Requirement of additional opioids
-Toxicity parameters; Respiratory rate, ความรู้สึกตัว (GCS),pupil
ข้อควรคำนึงด้านกฎหมาย
-เป็นยาเสพติดให้โทษตามกฎหมาย ต้องแนบแบบ ย.ส. 5 ทุกครั้งที่มีการเบิกยา และการเขียน จำนวนด้วย “ตัวอักษร” จะมีความปลอดภัยสูงต่อการปลอมแปลง
Migraine Pharmacotherapy
การใช้ยา ergotamine ที่ถูกต้อง
-การใช้ยา ergotamine สำหรับรักษาโรคปวดศีรษะไมเกรนจะต้องใช้เฉพาะเวลาที่มีอาการปวดเท่านั้น
-ห้ามใช้ติดต่อกันทุกวัน เพื่อป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรนเด็ดขาด
-รับประทานเมื่อมีอาการปวดศีรษะไมเกรนในครั้งแรก 1 หรือ 2 เม็ด จากนั้นทุกๆ ครึ่งชั่วโมงหากอาการไม่ดีขึ้นสามารถรับประทานซ้ำอีกครั้งละ 1 เม็ด
-ห้ามรับประทานเกิน 6 เม็ดต่อวัน
-ห้ามรับประทานยาเกิน 10 เม็ด ต่อสัปดาห์
Acute Attack Treatment
-Paracetamol and/or NSAIDs
-Triptan drugs
-Ergot alkaloids drug
Prevention / Prophylaxis regimen
Recommended Medications for Episodic Migraine
First-line agents (established efficacy based on evidence)
-Divalproex (Depakote)
-Frovatriptan
-Metoprolol
-Propranolol
-Timolol
-Topiramate (Topamax)
Second-line agents (probably effective based on evidence)
-Amitriptyline
-Atenolol
-Nadolol (Corgard)
-Naratriptan (Amerge)
-Venlafaxine
-Zolmitriptan (Zomig)
Sedative – Hypnotic drugs
Benzodiazepines (BDZs)
หลักการทั่วไปของ BDZs
-ยาที่มีความแรงสูง (high potency) มีแนวโน้มจะทำให้ติดได้ง่ายกว่ายาที่มีความแรงต่ำ (low potency)เช่น dormicum, xanax ทำให้ติดง่ายกว่า valium
-ยาที่มีค่าครึ่งชีวิตยาว (long half-life) มีแนวโน้มทำให้ติดน้อยกว่า ยาที่มีค่าครึ่งชีวิตสั้น (short half-life) เช่น valium , chlordiazepoxide ทำให้ติดยากกว่า dormicum
-ยาที่มี potency สูง และออกฤทธิ์เร็วทำให้เกิด anterograde amnesia
ข้อควรคำนึงด้านกฎหมาย
-เป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทบางชนิดมีการนำไปใช้ในทางที่ผิดสูงมาก มีการจำกัดการสั่งใช้ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือจิตแพทย์จำนวนการสั่งใช้ควรสั่งด้วยตัวอักษร
non-Benzodiazepines
Antidepressant
ยาต้านเศร้ากลุ่ม SSRIs
-มีโครงสร้างที่หลากหลาย แต่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับของserotonin เป็นหลักโดยไม่ไปรบกวน receptor อื่น
-ตัวอย่างยา เช่น fluoxetine, sertraline, paroxetine, escitalopram
ยาต้านเศร้ากลุ่ม SNRIs
-ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับของ serotonin และ norepinephrine เป็นหลัก การยับยั้งการเก็บกลับของ NE มีความปลอดภัยสูงกว่าเมื่อเทียบกับ TCAs ไม่มีผลต่อหัวใจ
-ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ venlafaxine, duloxetine, desvenlafaxine
ยาต้านเศร้าที่มีกลไกอื่นๆ
-NE-Dopamine reuptake inhibitors: bupropion
-Serotonin reuptake enhancer: tianeptine
-NE reuptake inhibitor: reboxetine
-Melatonin agonist: agomelatine
-Serotonin antagonist and reuptake inhibitor: trazodone
Mood stabilizer: Lithium
เป็นโลหะที่ใช้สำหรับภาวะอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นยาที่มี therapeutic range แคบภาวะ dehydration, hyponatremia จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดพิษจาก Lithium
Antipsychotics
Conventional antipsychotics
-ยับยั้งตัวรับโดปามีนอย่างแรงเป็นหลัก
-ยากลุ่มที่ potency สูงต่อ dopamine จะทำให้เกิดอาการข้างเคียงได้สูง
-ตัวอย่างยา haloperidol, thioridazine,fluphenazine
New (atypical) antipsychotics
-ยับยั้งตัวรับโดปามีน และ เซอโรโทนินทำให้อาการข้างเคียงด้านการเคลื่อนไหวลดลง ในขณะเดียวกันก็เพิ่มประสิทธิภาพด้าน cognitive ให้ผู้ป่วย
-ตัวอย่างยา clozapine, olanzapine, ziprasidone, risperidone
ข้อควรระวังสำหรับ antipsychotics
-Haloperidol มีหลายความแรงและรูปแบบสำหรับยาฉีด (ออกฤทธิ์นานออกฤทธิ์สั้น)
-Route of admin มีความต่างกัน (IV, IM, SC)