Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาในระบบต่อมไร้ท่อ และระบบสืบพันธ์ (Drugs in the endocrine and…
ยาในระบบต่อมไร้ท่อ และระบบสืบพันธ์
(Drugs in the endocrine and reproductive systems)
Thyroid hormone and anti-thyroid drugs
ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ (Hypothyroidism)
ให้ Synthetic hormone
Liothyronine (T3)
Liotrix
Levothyroxine (T4)
ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism)
Antithyroid drugs
Iodine(I2) / Iodine solution(I-)
Lugol's solution, SSKI
ข้อควรระวัง
ไอโอดีนผ่านไปยังรกได้ และอาจทำให้เกิดคอพอกกับทารกในครรภ์ได้
Anion inhibitor
Perchlorate, Pertechnetate, Thiocyanate
อาการข้างเคียง
ภาวะไขกระดูกฝ่อ (Aplastic Anemia)
แร่ไอโอดีน
Radioactive iodine(I131)
ผลข้างเคียง
พบภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ (hypothyroidism)
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
Thioamides
Propylthiouracil (PTU), Methimazole (MMI), carbimazole,MMI
ข้อบ่งใช้
ใช้รักษา Hyperthyroidism ในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
อาการข้างเคียง
ผื่น, มีพิษต่อตับ โรคตับอักเสบ(hepatitis), cholestatic jaundice
Other antithyroid agents
Beta adrenoceptor antagonist (β - blockers)
ได้แก่ยา Propranolol
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติเป็นโรคหอบหืดหรือมีภาวะหลอดลมหดเกร็งที่ยังไม่สามารถควบคุมอาการได้
ระวังการใช้ยานี้ในหญิงมีครรภ์
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้เกิดหัวใจเต้นช้า ความดันเลือดต่ำ มึนงง หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น
Glococorticoids
Prednisolone
ข้อควรระวัง
ระวังการใช้ในผู้ที่เป็นโรคกระดูกพรุน มีแผลในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ ต้อกระจก หรือมีภาวะติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร เนื่องจากยานี้ถูกขับออกทางน้ำนมได้
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดมวนท้อง อาหารไม่ย่อย เป็นแผลหายยาก เป็นสิว ผิวหนังบางลง ผิวหนังแตก มีขนตามร่างกายมากขึ้น เหงื่อออกมาก
Dexamethazone
ข้อควรระวัง
ยานี้อาจก่อให้เกิดการแพ้ที่รุนแรงได้ ซึ่งอาการแพ้เหล่านั้น ได้แก่ หายใจลำบาก คอบวม ลิ้นบวม หากมีอาการเหล่านี้ควรพบแพทย์ทันที
อาการไม่พึงประสงค์
เหนื่อยผิดปกติ เวียนหัวผิดปกติ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
Insulin and hypoglycemia drugs
Type2
(Non-insulin dependent)
ประเภทของยากิน
Biguanide
Metformin
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ที่มีการทำงานของไตบกพร่องระดับ 4
อาการไม่พึงประสงค์
ลดความอยากอาหาร คลื่นไส้-อาเจียน เสียดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป เป็นต้น ยานี้ควรรับประทานพร้อมอาหารหรือหลังอาหาร ทันทีเพื่อลดผลข้างเคียงของยา
Thiazolidinediones
Pioglitazone
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในระดับที่รุนแรง (NYHA class III,IV)
ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี และในหญิงให้นมบุตร
ระวังการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำระหว่างใช้ยา
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้เกิดอาการบวม เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหัก
Meglitinide
Repaglinide
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ระวังการใช้ร่วมกับยา Gemfibrozil เพราะอาจทำให้ระดับยา Repaglinide ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำผิดปกติได้อาจมีอาการหน้ามืด เหงื่อแตก คลื่นไส้ ปวดหัว มือสั่น ใจสั่น ควรกินอาหาร อมลูกอมหรือดื่มน้ำหวานทันที
Alpha-glucosidase inhibitors
Acarbose
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ห้ามใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับแข็ง โรคลำไส้แปรปรวน และโรคลำไส้อุดตัน
ห้ามใช้ยานี้ผู้ที่มีในภาวะหอบเหนื่อย คลื่นไส้ ปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุจากภาวะ diabetic ketoacidosis
การใช้ร่วมกับยา Digoxin อาจทำให้ประสิทธิภาพของยา Digoxin ลดลง
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสีย
Voglibose
ข้อบ่งใช้
ยาลดน้ำตาลในเลือดกลุ่มนี้ ออกฤทธิ์ขัดขวางการดูดซึมน้ำตาลจากล้าไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด
จึงควรกินพร้อมกับมื้ออาหาร โดยทั่วไปแนะน้าให้ กินพร้อมกับอาหารค้าแรก
ข้อควรระวัง
หากกินเป็นเวลานานๆ ยาจะไม่เจอกับน้ำตาลที่ย่อยและพร้อมจะดูดซึมอยู่ในลำไส้เล็ก
Sulfonylureas
Chlorpropamide, Glibenclamide, Gliclazide
คำเตือน
ระวังการเกิดน้ำตาลต่ำในเลือด เช่น หิว หน้ามืด เหงื่อแตก ใจสั่น
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ หรือผู้ที่แพ้ยากลุ่มซัลฟา
ข้อบ่งใช้
เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำผิดปกติได้ อาจมีอาการหน้ามืด เหงื่อออก รู้สึกหิว คลื่นไส้ ปวดหัว มือสั่น ใจสั่น
กลุ่มยากิน
ยาลดน้ำตาลในเลือด (Hypoglycemic drug)
ยากลุ่มที่ลดภาวะดื้อต่อ insulin
Glitazones (Thiazolidinedione, TZD)
ตัวอย่างยา เช่น
pioglitazone
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ที่ยีน โดยควบคุมการแสดงออกของ Peroxisome proliferation activating receptor (PPAR) ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับกลูโคสและ lipid metabolism
กระตุ้น metabolism ของกลูโคสและไขมัน จึงลดการดื้ออินซูลินของเซลล์เป้าหมายและลดระดับ free fatty acid ได้
ผลข้างเคียง
เป็นพิษต่อตับ, weight gain, มีการคั่งนํ้าของร่างกายทำให้บวม
ข้อดี
ไม่กระตุ้นการหลั่ง insulin จึงไม่เกิด hypoglycemia
Biguanide
ตัวอย่างยา เช่น
Metformin
ผลข้างเคียง
Lactic acidosis ภาวะกรดแลคติกคั่งในเลือด พบในผู้ป่วยที่ขาดออกซิเจน (COPD, heart failure)
หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยโรคตับ โรคไต โรคหัวใจล้มเหลว (มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิด Lactic acidosis)
ข้อดี
ไม่ทำให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า และนํ้าหนักตัวไม่ค่อยเพิ่มขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ลดการสร้างกลูโคสจากตับ และเพิ่มการนำกลูโคสไปใช้
กระตุ้นให้ receptor ไวต่ออินซูลินมากขึ้นและสามารถควบคุมระดับนํ้าตาลให้ปกติได้
ยายับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Alpha-glucosidase
Acarbose
และ
Miglitol
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้การย่อยคาร์โบไฮเดรตลดลง จึงมี glucose สำหรับดูดซึมได้น้อยลง
ทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดหลังอาหารลดลงได้ (Postprandial glucose)
ยับยั้งการทำงานของ Alpha-glucosidase
ผลข้างเคียง
ท้องอืด แน่นท้อง (flatulence)
ผายลมบ่อย
ปวดท้อง ถ่ายเหลว
มักเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับยาขนาดสูง
ข้อดี
ลดนํ้าตาลหลังรับประทานอาหารได้ดี เพราะเมื่อกินอาหารเข้าไปจะไม่เปลี่ยนเป็นนํ้าตาลโมเลกุลเล็ก
ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของ insulin จากตับอ่อน
Sulfonylurea
First generation
ตัวอย่างยา เช่น
Chlorpropamide, Tolbutamide
ข้อเสีย
1 more item...
ผลข้างเคียง
2 more items...
Second generation
ตัวอย่างยาเช่น
Glivenclamide, Glipizide
ผลข้างเคียง
2 more items...
Rapid acting non-sulfonylurea
ตัวอย่างยา เช่น
Repaglinide, Nateglinide
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ได้เร็วกว่า
ทำให้เกิด Hypoglycemia น้อยกว่า
ออกฤทธิ์โดยกระการกระตุ้นการหลั่ง insulin จากตับอ่อนเหมือน sulfonylurea แต่กระตุ้นที่ตำแหน่งของตัวรับแตกต่างกัน
ข้อควรรระวังในการใช้ยารับประทาน
คนไข้ที่ห้ามใช้ยารับประทาน ให้ใช้ยาฉีดอินซูลิน
คนไข้ที่มีโรคเกี่ยวกับตับและไตไม่ดี
ใช้ในคนไข้ที่ผ่าตัด , ตั้งครรภ์(มีผลต่อทารก)
เบาหวานชนิดที่ 1 ใช้ยารับปรัทานไม่ได้ผล ต้องใช้อินซูลืนฉีด
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธ์สตรี
การรักษาด้วยฮอร์โมนในหญิงวัยหมดประจำเดือน
รูปแบบ
Conjugated estrogen (Premarin) –แบบกิน/ครีม
Estradiol –แบบกิน/แบบเจล
Estrogen -แบบกิน/แปะผิวหนัง
ข้อห้ามใช้
โรคหลอดเลือด
มีภาวะเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน
Progestin เพียงอย่างเดียว
Levonorgestrel (Postinor2)
การใช้
กรณีมีความผิดพลาดจากการคุมกำเนิด เช่น ถุงยางรั่ว หรือลืมกินยาคุมมากกว่า 3วัน
กรณีมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ยินยอม เช่น การถูกข่มขืน
ใช้ในกรณทีที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ใช้วิธีการคุมกำเนิดอื่นๆ
ข้อควรระวัง
ยาคุมฉุกเฉินไม่สามารถป้องกันโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ได้
ยามีผลกระทบต่อรังไข่และมดลูก
ควรใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง LH surge ป้องกันการตกไข่
เปลี่ยนแปลง endometrium จนไม่เหมาะสมต่อการฝังตัวของ embryo
ผลข้างเคียง
ปวดท้อง (Stomachache)
ประจำเดือนมาผิดปกติ เสี่ยงต่อการท้องนอกมดลูก
ปวดศีรษะ (Headache)
หลังจากรับประทานยาหากมีเลือดออกทางช่องคลอด หรือประจำเดือนขาดหายไป รวมถึงสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรรีบพบแพทย์
คลื่นไส้อาเจียน (nausea vomiting)
ยาคุมกำเนิดแบบธรรมดาแบ่งได้ 2 ชนิด
ชนิดฮอร์โมนเดี่ยว
Progestin เพียงอย่างเดียว
ชนิดฮอร์โมนรวม (combined pills)
Estrogens ผสมกับ Progestin
ฮอร์โมน Oxytocin
ขนาดและวิธีใช้
Route
IM
IV infusion
ผู้ป่วยต้องได้รับยาดังกล่าวตามคำแนะนำของแพทย์และภายในโรงพยาบาลเท่านั้น
ข้อบ่งใช้
ช่วยในการคลอด ในรายที่มดลูกทำงานช้า
ระยะหลังคลอด ในรายที่การหดตัวคืนของมดลูกไม่สมบูรณ์
กระตุ้นการคลอด และรักษาอาการตกเลือด
ผลข้างเคียง
ปวดบีบที่ท้อง
มดลูกบีบตัวรุนแรงและบ่อยครั้งขึ้น
ผลข้างเคียงที่พบไม่บ่อย แต่เป็นอันตรายต้องแจ้งแพทย์ทันที
หัวใจเต้นผิดปกติ เจ็บหรือแน่นหน้าอก
ความดันโลหิตสูง
มีเลือดออกทางช่องคลอดมากขึ้น หรือเลือดไหลไม่หยุด
คลื่นไส้อาเจียน (nausea vomiting)
หน้าที่
กระตุ้นการคลอด หรือเพิ่มการบีบตัวของมดลูกระหว่างคลอดบุตร
ใช้รักษาอาการตกเลือดหลังคลอด
กระตุ้นการหดตัวของมดลูก และกระตุ้นการหลั่งของนํ้านม