Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความมุ่งหมาย และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก - Coggle Diagram
ความมุ่งหมาย และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก
มูลเหตุการณ์เล่าชาดก
.
.
เหตุเกิดการเล่านิทานชาดก ๔ ลักษณะ
๒) ปรัชญาสยะ
๓) อัตถุปัตติกะ
๑) อัตตัชฌาสยะ
๔) ปุจฉาวสิกา
เหตุเกิดนิทานชาดกมาจาก ๔ ทาง
.
๒) พระพุทธเจ้าทรงนำนิทานเก่ามาดัดแปลงสั่งสอนพุทธศาสนิกชน
๓) ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนานำเข้าเรื่องเดิมจากแหล่งต่าง ๆ มาแต่งใหม่
๑) พระพุทธเจ้าทรงระลึกชาติได้
๔) ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนาผูกเรื่องแต่งชาดกขึ้นมาเอง โดยไม่อาศัยเค้าโครง
เรื่องจากที่อื่น
บ่อเกิดของนิทานชาดก
.
๒) นิทานชาดกมาจากนิทานชาวบ้าน
๓) นิทานชาดกมาจากเรื่องราวยุคโบราณ ในประวัติศาสตร์หรือพงศาวดารของบ้านเมืองยุคโบราณก่อนพุทธกาล
๑) นิทานชาดกมาจากคัมภีร์ที่เก่าแก่กว่าคัมภีร์ชาดก
๔) นิทานเปรียบเทียบเชิงสั่งสอน พระบรมศาสดาหรือสาวกได้ผูกเรื่องนิทานชาดกขึ้นมา เพื่อสั่งสอนธรรมโดยตรง
องค์ประกอบของชาดก
.
(๒) อดีตนิทาน หรือชาดก หมายถึงเรื่องที่พระพุทธเจ้าตรัสเล่า เมื่อพระสาวกทูลถาม
(๓) ประชุมชาดก ประมวลชาดกเป็นเนื้อความตอนสุดท้ายของชาดก กล่าวถึง บุคคลในชาดกว่าผู้ใดกลับชาติมาเกิดเป็นใครบ้างในปัจจุบัน
(๑) ปรารภเรื่อง คือ บทนำ จะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาด
โครงสร้างอรรถกถาชาดก ๕ ส่วน
.
๓) คาถา (Verses) เป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก บางเรื่องเป็นพุทธ พจน์โดยตรง
๕) สโมธาน (Conclusion) เป็นการสรุปเรื่องราวของบุคคล สัตว์ หรือตัว
ละครสำคัญในเรื่องได้กลับชาติมาเกิดอีกเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า
๒) อดีตนิทาน (The Stories of the Part) เป็นเรื่องชาดกในอดีตที่เคยมีมาในอดีต
๔) เวยยากรณะ (Commentary) เป็นการอธิบายคาถาที่ปรากฏในนิบาต ชาดกนั้น ๆ ที่ยกมาแทรกไว้ในแต่ละตอน เป็นคำหรือวลีในคาถาที่เข้าใจยาก
๑) ปัจจุบันวัตถุ (The Stories of the Present) กล่าวถึงเรื่องปัจจุบัน สมัย พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่
.
.
โครงสร้างนิทานชาดก ๔ ตอน
ตอนที่ ๒ เป็นอดีตนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงนำมาสาธก
ตอนที่ ๓ เป็นคาถาประจำเรื่องนั้น ๆ ซึ่งมีทั้งเป็นคาถาของพระพุทธเจ้าบ้าง ของเทวดาบ้าง ของบัณฑิตบ้าง ของพระโพธิสัตว์บ้าง และของสัตว์ในเรื่องนั้นบ้าง
ตอนที่ ๑ เป็นบทนำเรื่อง ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใด ปรารภ ใคร ถึงได้ตรัสเล่านิทานเรื่องนี้
ตอนที่ ๔ ตอนสุดท้าย เป็นคติประจำใจที่ไม่มีในอรรถกถา ซึ่งผู้เขียนหรือผู้เล่า มักจัดทำขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ครบองค์ของนิทาน
ความมุ่งหมายของชาดก
.
๒. เพื่อศึกษาธรรมะด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
๓. เพื่อแก้ความสงสัยของพระพุทธสาวก
๑. เพื่อใช้สอนธรรมะ