Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 21 ปี G1P0000 GA 40+1 wks with HBV with Labour pain,…
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 21 ปี G1P0000 GA 40+1 wks with HBV with Labour pain
ประวัติทางสูติกรรม
G1P0000 LMP : 15/02/64 EDC : 22/11/64 GA 40+1 wks by LMP
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.หญิงตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์
การพยาบาล
1.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการนับลูกดิ้นให้กับหญิงตั้งครรภ์ คือ นับลูกดิ้นหลังรับประทานอาหารเช้า เที่ยง เย็น โดย 1 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหารแต่ละมื้อให้นับลูกดิ้น โดยปกติทารกจะดิ้น 3 ครั้ง และหลังรับประทานอาหารเช้า เที่ยง เย็น ทารกจะดิ้นมากว่า 10 ครั้ง
2.อธิบายเกี่ยวกับสุขภาพทารกในครรภ์จากการตรวจ NST ให้หญิงตังครรภ์เข้าใจ โดยบอก FHS = 132 bpm การเต้นของหัวใจทารกปกติดี สุขภาพทารกแข็งแรงดี เพื่อคลายความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่ารู้สึกว่าลูกดิ้นน้อยลง
O1 : หญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าวิตกังวล
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์
2.หญิงตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด เนื่องจากไม่มีประสบการในการคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่ากลัวเจ็บครรภ์มากจนทนไม่ได้
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่ากลัวจะคลอดยาก
O : หญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าวิตกังวล
การพยาบาล
1.แนะนำเกี่ยวกับอาการและอาการอสดงของการใกล้จะคลอด เช่น มีอาการเจ็บครรภ์ถี่ขึ้น นอนพักไม่หาย เจ็บบริเวณก้นกบ ร้าวมาที่หน้าขา และมีน้ำเดิน ให้มาโรงพยาบาลทันที 2.แนะนำให้หญิงตั้งครรภืเตรียมเอกสารสำหรับการคลอดและแนะนำไม่ให้เอาของมีค่ามาด้วย 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรีมความพร้อมในการคลอดให้หญิงตั้งครรภ์ โดยแนะนำเกี่ยวกับการหายเกี่ยวเพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์มี 4 วิธี ดังนี้ 1) การหายใจแบบช้า (ปากมดลูกเปิด 3 cm) 2) การหายใจแบบ ตื้น เร็ว เบา (ปากมดลูกเปิด 4-7 cm) 3) การหายใจแบบตื้นเร็วและเป่าออก (ปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร) 4) การหายใจเพื่อเบ่งคลอด (ปากมดลูกเปิดหมด 10 เซนติเมตร)
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด โดยบอกหญิงตั้งครรภ์ว่า ปากมดลูกต้องเปิดถึง 10 cm ถึงจะสามารถคลอดได้ และบอกวิธีการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง 3. ส่งเสริมความก้าวหน้าของการลอดให้กับหญิงตั้งครรภ์ โดยให้ความรู้ว่า ให้นั่งท่าผีเสื้อ และลุกเดินไปปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง เพื่อส่งเสริมการลดต่ำลงของส่วนนำ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการคลอด 2.เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับหญงตั้งครรภ์ในการคลอด
ประวัติหญิงตั้งครรภ์
ข้อมูลส่วนตัว
หญิงตั้งครรภ์อายุ 21 ปี สถานภาพ โสด เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ การศึกษา ม.6 อาชีพ ว่างงาน รายได้ 12,000/เดือนจากสามีทำงานรับจ้างทั่วไป สิทธิการรักษา บัตรทอง
อาการสำคัญ
มาฝากกันตามนัด
อาการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
หญิงตั้งครรภ์ G1P0000 GA 40+1 wks มาฝากครรภ์ตามนัด ลูกดิ้นดี ไม่มีท้องปั้น ไม่มีมีเลือดออกทางช่องคลอด
อาการเจ็บป่วยในอีต
-8 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลมาฝากครรภ์ครั้งแรกที่โรงพยาบาลขอนแก่น ตรวจเลือดพบว่า HBsAg : Positive แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็น HฺBV
-ปฏิเสธการผ่าตัด -ปฏิเสธการแพ้ยา
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ BT = 36.1 องศาเวลเซียส BP = 126/75 mmHg. PR 102/min RR = 18/min
Protein in urine : Negative , Sugar in urine : Negative Conjunctiva not pale and not jaundice,No pitting edema, Thyroid grade 0,Nipple grade 2
-น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 60 kg. ส่วนสูง 165 cm. BMI = 22.038 km2 (BMI ช่วง 19.8-26 น้ำหนักปกติ) -น้ำหนักขระตั้งครรภ์ 73.4 kg ส่วนสูง 165 cm. BMI = 26.96 km2 BMI ก่อนตั้งครรภ์ที่อยู่ในช่วง 19.8-26 ควรมีน้ำหนักเพิ่ม 11.5-16 kg. ตลอดการตั้งครรภ์ ซึ่งหญิงตั้งครรภ์รายนี้มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 13.4 kg ตลอดการตั้งครรภ์ซึ่งถือว่าปกติ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
LAB 1 (30/04/64) : Hb = 10.9 g/dL (>11 g/dL) , Hct = 32.1%(>33%), MCV = 72.1 fL (80-100) , MCH = 23.7 pg (26-34 pgg), Hb typing : EA Hb E 26%, HBeAg : Positive,RPR(VDRL) : Negative, HIV Ab : Negative
LAB 2 (28/09/64) : Hb = 10.6 g/dL (>11 g/dL), Hct = 32.4% (>33%), MCV = 84.4 fL (80-100), MCH = 27.6 pg (26-34 pg), RPR(VDRL) : Negative, HIV Ab : Negative
ตรวจครรภ์
ทารกท่า ROA ,Vx , Head Engagement , HF = 3/4 > สะดือ, FHS : Positive,EFM = 3,165 gm, AFI = 8 cm.
ประวัติการได้รับวัคซีน
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก ตอน ป.6 ไม่ได้ฉีดวัคซีนในครรภ์นี้ เพราะได้รับครบ 3 เข็ม
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ เมื่อวันที่ 29 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2564
pregnant women with hepatitis B
ความหมาย
โรคตับอักเสบ บี(Hepatitis B) เป็นโรคตับชนิดร้ายแรงที่เกิดจากไวรัสตับอักเสบ บี(hepatitis B virus) ซึ่งอยู่ในกลุ่ม hepadnavirus (World Health Organization [WHO], 2009) การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขเพราะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคตับแข็งและมะเร็งตับชนิด hepatocellular carcinogen (Kowdley, 2004)
การแพร่กระจายเชื้อ
การติดต่อหรือแพร่กระจายของเชื้อมีทั้งทางตรงคือการสัมผัสเลือดและสิ่งคัดหลั่งจากผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ ทางอ้อม เช่นการใช้อุปกรณ์ร่วมกันกับผู้ที่ติดเชื้อ และการแพร่กระจายของเชื้อจากมารดาสู่ทารก
การแพร่กระจายเชื้อจากมารดาสู่ทารกมักเกิดในขณะคลอด เพราะทารกที่จะคลอดจะสัมผัสกับเลือดโดยตรง ทารกจึงจำเป็นต้องได้รับวัคซีนตั้งแต่แรกเกิด มิฉะนั้นแล้วทารกจะเป็นโรคตับอักเสบบีไปตลอดชีวิต
การป้องกัน
การได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีสำหรับกลุ่ม
เสี่ยง กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการได้ติดเชื้อที่
ควรได้รับวัคซีนคือ ทารกแรกเกิด วัยรุ่น และกลุ่มที่มี
ความเสี่ยงสูง ได้แก่ ผู้ป่วยเอชไอวี
2.การป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัส
เลือด สารคัดหลั่งของผู้ที่ติดเชื้อ โดยใช้หลักการป้องกับโดยครอบจักรวาล การใช้ถุงยางอนามัยในขณะมีเพศสัมพันธ์ การใช้อุปกรณ์การแพทย์ชนิดใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง การละเว้นการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน เช่น กรรไกรตัดเล็บ แปรงสีฟัน ต่างหู
3.การดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลักuniversal precaution ในการจับต้องหรืออุ้มทารก การดูดมูก
จากปากและจมูกอย่างรวดเร็ว การทำลายผ้าอ้อม และก่อนฉีดวัคซีนต้องทำความสะอาดผิวทารกด้วยน้ำและสบู่ และเช็ดซ้ำด้วยแอลกอฮอล์
4.ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันโดยการฉีด HBIG
ภายใน 24ชั่วโมงและให้วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก และไวรัสตับอักเสบบี (HBV) อีก 3 ครั้งเมื่ออายุ2,4,และ6เดือน การให้วัคซีนจะช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งตับและโรคตับแข็งในอนาคตด้วย
นางสาวปรารถนา กองทอง เลขที่ 28 รหัสนักศึกษา 61128301029