Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว กับการวิจัย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว
กับการวิจัย
ลักษณะของงานวิจัยที่ดี
ใช้เหตุผลและความถูกต้อง
มีวิธีการดำเนินงานที่เป็นระบบแบบแผน
ค้นหาสิ่งใหม่ๆเพื่อนำไปใช้ประโยชน์
มีเครื่องมือการวิจัยและวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้
ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมามีความเป็นปรนัยและสมเหตุสมผล
มีการบันทึกข้อมูลและเขียนรายงานอย่างรอบคอบ
การวิจัยต้องการผู้เชี่ยวชาญและมีความรู้ในเรื่องที่ทำ
การวิจัยต้องมีความพยายามความซื่อสัตย์อดทน
ลักษณะที่ไม่ใช่งานวิจัย
เป็นการค้นพบความรู้โดยบังเอิญ
ไม่มีวิธีการที่เป็นระบบระเบียบในการดำเนินงาน
ไม่มีการกำหนดจุดมุ่งหมายไว้ล่วงหน้า
ใช้วิธีการลอกเลียนแบบหรือปฏิบัติต่อจากผลงานผู้อื่น
ความหมายของการวิจัย
การค้นคว้าหาความจริงหรือข้อเท็จจริงที่ได้กระทำซ้ำแล้วซ้ำอีกจนกระทั่งได้ข้อสรุป
กระบวนการการแสดงหาความรู้เพื่อตอบปัญหาที่มีแบบแผนและวัตถุประสงค์ ที่แน่นอนวิทยาศาสตร์
ความหมายตามราชบัญญัติสถานการค้นคว้าหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามวิชาการ
การศึกษาค้นคว้าเพื่อ พิสูจน์หรือหาคำตอบหรือหาข้อเท็จจริงอะไรบางอย่างที่อาจจะยังไม่มี
การค้นพบในเรื่องนั้นมาก่อนหรืออาจจะมีการค้นพบ มาแล้วแต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไปก็ต้องการค้นหาใหม่อีกครั้งหนึ่ง
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
จุดมุ่งหมายหลัก
เพื่อสร้างทฤษฎี
เพื่อตรวจสอบข้อมูลความรู้และทฤษฎี
เพื่อการแก้ปัญหา
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่ออธิบายสาเหตุและผลของปรากฏการณ์
เพื่อการทำนายหรือคาดคะเนและเหตุการณ์ล่วงหน้า
เพื่อการบรรยายปรากฏการณ์
เพื่อการควบคุมเหตุการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงมีประโยชน์
ประโยชน์ของการวิจัย
ช่วยให้เกิดวิทยาการใหม่ๆ
ช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่างๆได้ดีขึ้น
ใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การวิจัยช่วยให้ค้นพบทฤษฎีและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
ช่วยให้ในด้านการกำหนดนโยบายการวางแผนงานต่างๆของผู้บริหารให้เป็นไปได้อย่างถูกต้อง
ทำให้ทราบข้อเท็จจริงๆซึ่งนำมาใช้ประโยชน์เพื่อ การปรับปรุงหรือพัฒนาบุคคลและหน่วยงานต่างๆให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น
ขั้นตอนการวิจัย
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
แบ่งตามประโยชน์ของการใช่
แบ่งตามวิธีการวิจัย
แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบ่งตามชนิดข้อมูล
การพัฒนาแสวงหาความรู้
วิธีโบราณ
การสอบถามผู้รู้หรือผู้มีอำนาจ
ความบังเอิญ
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ผู้เชียวชาญ
ประสบการณส่วนตัว
ลองผิดลองถูก
วิธีการอนุมาน
ข้อเท็จจริงใหญ่
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เป็นจริงอยู่ในตัวมันเอง หรือเป็น ข้อตกลงที่กําหนดขึ้นเป็นกฎเกณฑ์
ข้อเท็จจริงย่อย
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงใหญ่ หรือเป็น
เหตุผลเฉพาะกรณีที่ต้องการทราบความจริง
ผลสรุป
เป็นข้อสรุปที่ได้จากการพิจารณาความสัมพันธ์ของ เหตุใหญ่และเหตุย่อย
วิธีการอุปมาน
วิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์
วิธีการงบประมาณแบบไม่สมบูรณ์
วิธีทางวิทยาศาสตร์
ขั้นปัญหา
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นสรุป
ขั้นตั้งสมมติฐาน
ขั้นรวมข้อมูล