Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - Coggle Diagram
แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัยกับการตั้งชื่อเรื่องวิจัย
ตัวแปรของการวิจัย
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
การกำหนดปัญหาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
จากการวิเคราะห์ความต้องการและหาการสอน
จากวิธีการระดมสมองด้วยกระบวนการกลุ่ม
จากหลักฐานการเรียน
จากนโยบายของหน่วยงาน
จากประสบการณ์
จากภาระทางสังคม
การตั้งชื่อเรื่องงานวิจัย
กะทัดรัดและมีความชัดเจน
มีขอบเขตที่ชัดเจน
ประเด็นปัญหา
วิธีการ
การศึกษากับใครที่ไหน
ตรงกับปัญหาที่ศึกษา
ความรู้เบื้องต้น
ความหมายของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
เป็นการพัฒนาการเรียนการสอน
ประเภทของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนแบบร่วมมือ
วิจัยระดับสถานศึกษา
วิจัยในชั้นเรียน
ประเภทของการวิจัย
จำแนกตามลักษณะของข้อมูล
วิจัยเชิงปริมาณ
วิจัยเชิงคุณภาพ
จำแนกตามประโยชน์การนำไปใช้
วิจัยเชิงปฏิบัติ
วิจัยพื้นฐาน
วิจัยประยุกต์
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
วิจัยเชิงทดลอง
วิจัยเชิงบรรยายหรือพรรณนา
วิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
เป้าหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การปฏิบัติงาน
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ทำแผนการสอน
ความหมายของการวิจัย
การค้นคว้าหาความรู้อย่างมีระบบ
ขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการแบบ P-A-O-R
ปฏิบัติการ
สังเกต
วางแผน
สะท้อนการปฏิบัติ
ขั้นตอนการวิจัยแบบ Freeman
การตั้งข้อสงสัย
การกำหนดคำถาม
การรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การทำความเข้าใจ
การเผยแพร่
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการทั่วไป
จัดทำเครื่องมือ
ดำเนินการแก้ปัญหา
ออกแบบ
วิเคราะห์ข้อมูล
ศึกษาแนวคิด
รายงานผล
กาวิเคราะห์ปัญหา
นำผลการวิจัยไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน
การสืบค้นความรู้
ขั้นตอนในการสืบค้นความเร็วในเว็บไซต์
ค้นหาด้วย Google
พิมพ์คำค้นที่เป็นคำสำคัญ
เลือกผลการค้นหา
เทคนิคการสืบค้นอย่างรวดเร็วแบบอื่นๆ
พิมพ์คำว่านิยามข้างหน้าคำสำคัญ
คำสำคัญ
ไม่ต้องแยกคำ
ระบุให้ค้นเฉพาะภายใน
กำหนดขอบเขต
ระบุระยะเวลาในช่วงที่ต้องการ
ระบุลักษณะของแฟ้ม
การสืบค้น
จากฐานข้อมูลสำเร็จรูป
จากอินเตอร์เน็ต
จากตำรา เอกสาร
การกำหนดวัตถุประสงค์กับกรอบแนวคิดการวิจัย
หลักการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย
ครอบคลุมประเด็นปัญหา
ภาษาที่ใช้กะทัดรัด
กำหนดสมมุติฐานการวิจัยได้
ระบุวิธีการศึกษา
การเขียนในลักษณะการบรรยายหรือถามก็ได้
สอดคล้องกับชื่อเรื่อง
กำหนดรูปแบบการวิจัยได้
กรอบแนวคิดการวิจัย
หลักสำคัญในการเลือกกรอบแนวคิด
ความง่ายและไม่สลับซับซ้อน
สอดคล้องกัน
ความตรงประเด็น
มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติ
รูปแบบการเขียน
เขียนเป็นแผนภูมิ
เขียนเป็นแผนภูมิประกอบคำบรรยาย
เขียนแบบบรรยาย