Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับสัมผัส, นายณฐนนท์ อร่ามเรือง ม.4/8 เลขที่ 11 - Coggle Diagram
อวัยวะรับสัมผัส
ตาและการมองเห็น
โครงสร้างของตา
สเคลอรา (sclera)
ตาขาว
บริเวณส่วนใหญ่ทึบแสง
กระจกตา (cornea)
ช่วยหักเหแสง
โครอยด์ (choroid)
รูม่านตา (pupil)
ทำหน้าที่รับแสงเข้าเลนส์ตา
เลนส์ตา (lens)
ม่านตา (iris)
ผนัง choroid
เรตินา (retina)
เซลล์รูปแท่ง (rod cell)
Rhodopsin = opsin + retinin
เซลล์รูปกรวย (cone cell)
สาร iodopsin
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
Blind spot
บริเวณที่มองไม่เห็น
มีแต่ axon ของ optic nerve
Yellow spot หรือ fovea
จะพบ cone cell มากกว่า rod cell
หูและการได้ยิน
โครสร้างงของหู
หูชั้นกลาง
ค้อน (malleus)
ทั่ง (incus)
โกลน (stapes)
หูชั้นใน
cochlea
รับเสียง
semicircular canal
ช่วยทรงตัว
หูชั้นนอก
รูหู (auditory canal)
เยื่อแก้วหู (ear drum)
แบ่งหูชั้นนอกและชั้นใน
ขยายเสียง 13 - 17 เท่า
ใบหู (pinna)
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
การรับเสียง
การทรงตัว
จมูกและการดมกลิ่น
โครงสร้างของจมูก
โมเลกุลกลิ่น (odorants)
เยื่อบุจมูก (epithelial cell)
olfactory neuron
CN I
olfactory bulb
cerebrum
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
เวลาเป็นหวัด จะมีเมือกมาคลุมเยื่อบุจมูก ทำให้ cilia รับกลิ่นได้ไม่ดี
ลิ้นและการรับรส
โครงสร้างของลิ้น
ปุ่มลิ้น (papilla)
ตุ่มรับรส (taste bud)
เซลล์รับรส (qustatory cell)
เปรี้ยว
เค็ม
ขม
รสอูมามิ
หวาน
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
รสอูมามิ ค้นพบโดบ ดร.คิคุนาเอะ จากการวิจัยรสชาติของน้ำซุปที่ทำจากสาหร่ายทะเลคมบุ
ผิวหนังและการสัมผัส
โครงสร้างของผิวหนัง
หนังกำพร้า (epidermis)
ชั้นเนื้อ ectoderm
ปลายประสาทความเจ็บปวด (pain)
หนังแท้ (dermis)
ชั้นเนื้อ mesoderm
ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน เซลล์สร้างขน และปลายประสามรับสัมผัส
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
ปลายประสาทรับความเจ็บปวดจะอยู่บนสุด ความดันจะอยู่ล่างสุด
ที่ปลายนิ้วจะมีปลายประสาทมากกว่าที่ไม่ละเอียดอ่อน เช่น ฝ่าเท้า ฝ่ามือ
นายณฐนนท์ อร่ามเรือง ม.4/8 เลขที่ 11