Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๒ ความมุ่งหมาย และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก - Coggle Diagram
บทที่ ๒
ความมุ่งหมาย
และมูลเหตุแห่งการเล่าชาดก
ความมุ่งหมายของชาดก
เพื่อศึกษาธรรมะด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ติตติรชาดก ว่าด้วยนกกระทา
นามสิทธิชาดก ว่าด้วยชื่อไม่เป็นของสำคัญ
สุวัณณหังสชาดก ว่าด้วยพญาหงส์ทองถูกถอนขน
กาญจนักขันธชาดก ว่าด้วยพระโพธิสัตว์แบ่งแท่งทอง
เพื่อแก้ความสงสัยของพระพุทธสาวก
สมุททวาณิชชาดก ว่าด้วยพ่อค้าทางเรือเดินทะเล
ตุณฑิลชาดก ว่าด้วยตุณฑิลสุกรโพธิสัตว์
มกสชาดก ว่าด้วยลูกชายโง่ฆ่ายุง
อารามทูสกชาดก ว่าด้วยลิงทำลายสวน
เพื่อใช้สอนธรรมะ
ธัมมัทธชชาดก ว่าด้วยการมีธรรมเป็นธงชัย
สังกิจจชาดก ว่าด้วยสังกิจจฤๅษี
กฬายมุฏฐิชาดก ว่าด้วยลิงซัดลูกเดือยทิ้งทั้งกำมือ
มูลเหตุการณ์เล่าชาดก
บ่อเกิดของนิทานชาดก
นิทานชาดกมาจากนิทานชาวบ้าน
นิทานชาดกมาจากเรื่องราวยุคโบราณ
นิทานชาดกมาจากคัมภีร์ที่เก่าแก่กว่าคัมภีร์ชาดก
นิทานเปรียบเทียบเชิงสั่งสอน
เหตุเกิดการเล่านิทานชาดก ๔ ลักษณะ
ปรัชญาสยะ ทรงแสดงธรรมเพราะอัธยาศัยของผู้ฟัง
อัตถุปัตติกะ ทรงถือเอาประโยชน์ที่เกิดขึ้นเป็นเหตุ
อัตตัชฌาสยะ คือ เกิดขึ้นแต่พระอัธยาศัยแห่งพระพุทธเจ้าเอง
ปุจฉาวสิกา เกิดจากคำถาม คือ มีปัญหาเกิดขึ้น ผู้ถามใคร่จะทราบ จึงไป เฝ้าทูลถามเพื่อต้องการให้ทรงแก้ปัญหาหรือปลดเปลื้องความสงสัย
เหตุเกิดนิทานชาดกมาจาก ๔ ทาง
พระพุทธเจ้าทรงนำนิทานเก่ามาดัดแปลงสั่งสอนพุทธศาสนิกชน
ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนานำเข้าเรื่องเดิมจากแหล่งต่าง ๆ มาแต่งใหม่
พระพุทธเจ้าทรงระลึกชาติได้
ผู้รู้ทางพระพุทธศาสนาผูกเรื่องแต่งชาดกขึ้นมาเอง โดยไม่อาศัยเค้าโครงเรื่องจากที่อื่น
องค์ประกอบของชาดก
โครงสร้างอรรถกถาชาดก ๕ ส่วน
คาถา (Verses) เป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก
เวยยากรณะ (Commentary) เป็นการอธิบายคาถาที่ปรากฏในนิบาตชาดก
อดีตนิทาน (The Stories of the Part) เป็นเรื่องชาดกในอดีต
สโมธาน (Conclusion) เป็นการสรุปเรื่องราวของบุคคล สัตว์ หรือตัว ละครสำคัญในเรื่องได้กลับชาติมาเกิดอีกเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า รวมทั้งผู้ที่ได้ฟังชาดก เรื่องนี้ได้บรรลุธรรม หรือได้มรรคผลอย่างไรด้วย
ปัจจุบันวัตถุ (The Stories of the Present) กล่าวถึงเรื่องปัจจุบัน
โครงสร้างนิทานชาดก ๔ ตอน
ตอนที่ ๒ เป็นอดีตนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงนำมาสาธก
ตอนที่ ๓ เป็นคาถาประจำเรื่องนั้นๆ ซึ่งมีทั้งเป็นคาถาขอพระพุทธเจ้าบ้าง ของเทวดาบ้าง ของบัณฑิตบ้าง ของพระโพธิสัตว์บ้าง และของสัตว์ในเรื่องนั้นบ้าง
ตอนที่ ๑ เป็นบทนำเรื่อง ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใด ปรารภใคร ถึง ได้ตรัสเล่านิทานเรื่องนี้
ตอนที่ ๔ ตอนสุดท้าย เป็นคติประจำใจที่ไม่มีในอรรถกถา ซึ่งผู้เขียนหรือผู้เล่ามัก จัดทำขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ครบองค์ของนิทาน โดยสรุปคำลงท้ายว่า นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่าอะไร กับตัวละครสำคัญในเนื้อเรื่องกลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพุทธกาลเสมอ
องค์ประกอบชาดก ๓ ประการ
อดีตนิทาน หรือชาดก หมายถึงเรื่องที่พระพุทธเจ้าตรัสเล่า
ประชุมชาดก ประมวลชาดกเป็นเนื้อความตอนสุดท้ายของชาดก กล่าวถึง บุคคลในชาดกว่าผู้ใดกลับชาติมาเกิดเป็นใครบ้างในปัจจุบัน
ปรารภเรื่อง คือ บทนำ จะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดก