Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Polyuria - Coggle Diagram
Polyuria
สาเหตุ
เบาจืด (Diabetes insipidus, DI)
โรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง (Central Diabetes Insipidus) เกิดจากความเสียหายของต่อมใต้สมอง หรือสมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) โดยความเสียหายนี้จะส่งผลให้สมองไม่สามารถผลิต สะสม และหลั่งฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกได้เป็นปกติ และหากฮอร์โมนชนิดนี้มีไม่เพียงพอต่อความต้องการก็จะทำให้ของเหลวจำนวนมากถูกกำจัดออกมาทางปัสสาวะ
โรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของไต (Nephrogenic Diabetes Insipidus) เกิดจากความผิดปกติของไตที่ส่งผลให้ไตไม่สามารถตอบสนองต่อฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกได้ ความเสียหายของไตที่เกิดอาจเกิดขึ้นได้จากการใช้ยา เช่น ลิเทียม (lithium) เตตร้าไซคลิน หรือยาต้านไวรัสบางชนิดระดับแคลเซียมในร่างกายสูงมากเกินไป
- Primary polydipsia หรือ Psychogenic polydipsia เกิดจาก คนไข้มีความผิดปกติทางพฤติกรรม ทำให้ดื่มน้ำมาก
- โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus) จะมีอาการดื่มน้ำมาก ปัสสาวะมาก
- โรคเกี่ยวกับไต: ประเด็นนี้เน้นหนักไปที่โรคอะไรก็ตามที่ทำให้ได้ไม่สามารถเก็บน้ำเอาไว้ได้เมื่อเก็บไม่ได้ก็ต้องปล่อยออกเท่านั้นเองตัวอย่างของโรคก็คือ hypercalcemia (ภาวะแคลเซียมสูงในเลือด)
chronic pyelonephritis (ภาวะกรวยไตอักเสบ) chronic hypokalemia (ภาวะผิดปกติของคำโพแทสเซียมในร่างกาย) เป็นต้น
การวินิจฉัย
-
-
ตรวจเลือด
Serum potassiun: เป็นการตรวจวัดค่าโปแตสเซียมว่าอยู่ในภาวะสมดุล
หรือไม่เพราะมีผลโดยตรงต่อความเข้มข้นของปัสสาวะ
-
-
Serum sodium: เป็นการตรวจวัดค่าโซเดียมที่อยู่ในน้ำเลือดซึ่งเชื่อมโยง
ไปถึงสมดุลของน้ำในร่างกายและคา ADH ค่าที่วัดได้สามารถใช้เพื่อแยกแยะสาเหตุได้ 2 อย่างคือถ้าค่าได้ต่ำกว่าปกติอาการปัสสาวะมาก
อาจสาเหตุมาจาก primary polyuria แต่ถ้าค่าที่ได้สูงกว่าปกติก็มักจะมีผลมาจาก DI
บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ และสิ่งที่ทำให้คิดว่าปริมาณปัสสาวะเพิ่มมากขึ้นสังเกตสีและลักษณะอื่นๆ ของปัสสาวะ
การรักษา
-
-
กรณีที่ผู้ป่วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจำกัดน้ำ และอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วมด้วย หากผู้ป่วยมีสัญญาณเกี่ยวกับภาวะทางจิต
พยาธิสภาพ
โรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง (Central Diabetes Insipidus) เกิดจากความเสียหายของต่อมใต้สมอง หรือสมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) โดยความเสียหายนี้จะส่งผลให้สมองไม่สามารถผลิต สะสม และหลั่งฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกได้เป็นปกติ และหากฮอร์โมนชนิดนี้มีไม่เพียงพอต่อความต้องการก็จะทำให้ของเหลวจำนวนมากถูกกำจัดออกมาทางปัสสาวะ ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ต่อมใต้สมองและสมองส่วนดังกล่าวเกิดความเสียหาย ได้แก่
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
-