Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยทาํงาน - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยทาํงาน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายจากการประกอบอาชีพ
สภาพการทํางาน (Working condition)
สภาพแวดล้อมในการทํางาน (Working environment)
. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological environment)
สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial environment)
สิÉงแวดล้อมทางเคมี (Chemical environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
ผู้ประกอบอาชีพ (Worker) เ
.การป้องกันโรคหรืออันตรายที่เกิดจากการประกอบอาชีพ (Prevention and Control of
Occupational Disease)
การควบคุมป้องกันที่แหล่งกําเนิด (Source Protection)
กระทำที่ต้นเหตุ เปลี่ยนสารเคมี กระบวนการผลืต
การควบคุมป้องกันที่ตัวผู้รับหรือผู้ปฏิบัตงิาน (Personal Protection)
กระทำตัวคนทำงาน ใช้เครื่องป้องกัน ตรวจสุขภาพ
การควบคุมป้องกันสิ่งแวดล้อมหรือทางผ่าน (Pathway Protection)
การทำที่ทางผ่านระหว่าง สิ่งแวดล้อมและคน เช่น การติดผัดล้มดูดอากาศ
.ระบาดวิทยาของโรคหรืออันตรายที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการประกอบอาชีพ (work-related diseases)
การประกอบ อาชีพไปกระตุ้นให้โรคเดิมของผู้ป่ วยคนนั้นให้แสดงอาการออกมา หรือทําให้อาการแย่ลงกว่าเก่า เช่น ในคนทีÉมีโครงสร้างผิดปกติอยู่แล้ว หรือผู้ป่ วยด้วยโรคเบาหวานจะมีอาการโรคเส้นเอ็นอักเสบได้ง่าย
3.โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (environmental diseases)
ผลกระทบที่ เกิดจากมลพิษปนเปื้อนในดิน น้ำอากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ทําให้เกิดโรคหรือ ผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
โรคจากการประกอบอาชีพ (occupational diseases)
โรคที่เกิดจากปัจจัยในการ ประกอบอาชีพโดยตรง ซึ่งเป็นปัจจัยเดียวที่ก่อให้เกิดโรค โดยอาจเกิดทันทีเช่น ได้รับสัมผัสไอกรดในโรงงาน แบตเตอรี่ มีอาการแสบตา แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก หรือการสัมผัสสารกําจัดแมลงในขณะฉีดพ่น มีอาการแน่นหน้าอก หนังตากระตุกน้ำาตาไหล คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นคันตามผิวหนัง
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางเคมี(Chemical health hazard)
ฝุ่นเส้นใยยืช
กลุ่มคนเสี่ยง ทอกระสอบ ทอผ้า
เกิดโรค
Byssinosis
ฝุ่นชานอ้อย
กลุ่มเสี่ยง คนงานตัดอ้อย โรงงานน้ะตาล
เกิดโรค Baggssosis
ฝุ่นซิลิกา
กลุ่มเสี่ยง ขุดเจาะหินโรงโม่หรือย่อยหิน ขัดโลหะทำแก้ว
เกิดโรค โรค
Silicosis
ฝุ่นใยหิน
กลุ่มเสี่ยง ผลิตหลังคากระเบื้อง ท่อน้ำ วัตถุทนไฟ
เกิดโรคปอดหิน
Asbestosis
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางชีวภาพ (Biological health hazard)
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยที่เป็นสิ่งมีชีวิต ได้แก่จุลินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น
เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต แมลงชนิด
ต่างๆ พบมากในผู้ปฏิบัติงานด้านเกษตรกรรม โดยสัมผัสกับเชื้อโรคจากพืชหรือสัตว์ เช่น โรคแอนแทรกซ์จากวัว ส่วนโรคที่เกิดขึ้นแก่เจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ ได้แก่วัณโรค โรค เอดส
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางกายภาพ (Physical health hazard)
อุณหภูมิ(Temperature)
ก่อุณหภูมิ 100 องศาฟาเรนไฮท์(38°C) และร่างกายมีเหงืjออกมาก
ประมาณ ลิตรต่อชัjวโมง ยังผลให้เกิด
การเป็ นลม การเป็นตะคริว
อุณหภูมิต่ำหรือความเย็น
เทร็นต์ฟุต (Trench foot)
ฟรอสไบต์(Frostbite)
ชิลเบรนส์(Chilbrain)
แสง (Light)
แสงสว่างที่จ้าเกินไปหรือเกิน 1000 ลักซ์ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการมองเห็น ตาลาย ปวดศีรษะ และแสงที่น้อยเกินไป ต่ากว่า 50 ลักซ์สามารถ ทําลายสายตา ทาให้เกิดความเมื่อยล้าสายตา
เสียง (Noise)
เสียงที่มีความดังเกิน 90 เดซิเบลเอระดับเสียงตามที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับการทํางานเกิน
8 ชั่วโมงต้องไม่เกิน 80 เดซิเบล และในสถานที่ทํางานระดับเสียงสูงสุดต้องไม่เกิน 140 เดซิเบล
รังสี(Radiation)
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazard)
1 สภาพแวดล้อมในการทํางาน
เพื่อนร้วมงาน นายจ้าง กระบวนการทำงาน
เออร์โกโนมิกส์(Ergonomics)
องค์ประกอบด้านสรีรวิทยา (Physiology) ได้แก่ สรีรวิทยาการทํางาน โ
องค์ประกอบด้านจิตวิทยา (Psychology) โดยมุ่งเน้นถึงความชํานาญในการทํางาน
ř.องค์ประกอบด้านกายวิภาคศาสตร์(Anatomy) โดยคํานึงถึงขนาด รูปร่าง ท่าทางการทํางาน